ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2561
ระดับตัวชี้วัดจังหวัด
ตัวชี้วัดที่021
Sort Order0
คำนิยาม

ผลิตภัณฑ์สุขภาพ หมายถึง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ 6 ประเภท ได้แก่ ผลิตภัณฑ์อาหาร ยา วัตถุเสพติด เครื่องสำอาง วัตถุอันตรายที่ใช้ในบ้านเรือนหรือทางสาธารณสุข และเครื่องมือแพทย์ ที่เก็บจากสถานที่ผลิต นำเข้าหรือจำหน่าย เฉพาะผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่ได้รับอนุญาตและที่ไม่ต้องขออนุญาตตามกฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

การตรวจสอบ หมายถึง การสุ่มเก็บตัวอย่าง เพื่อตรวจสอบวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการหรือชุดทดสอบเบื้องต้นตามแผนเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์สุขภาพ โดยไม่นับรวมเรื่องร้องเรียน กรณีพิเศษ ฉุกเฉิน หรือ วิเคราะห์ซ้ำ

หมายเหตุ : การรายงานผลการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพให้แยกผลการตรวจวิเคราะห์จากห้องปฏิบัติการและผลการทดสอบเบื้องต้นโดยชุดทดสอบเบื้องต้นให้ชัดเจนตามรูปแบบที่กำหนด
หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aผลิตภัณฑ์
นิยามของค่า Aจำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบทางห้องปฏิบัติการที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
หน่วยของค่า Bผลิตภัณฑ์
นิยามของค่า Bจำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับผลวิเคราะห์จากห้องปฏิบัติการทั้งหมด
หน่วยของค่า Cผลิตภัณฑ์
นิยามของค่า Cจำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ตรวจสอบโดยชุดทดสอบเบื้องต้นที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
หน่วยของค่า Dผลิตภัณฑ์
นิยามของค่า Dจำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับผลจากชุดทดสอบเบื้องต้นทั้งหมด
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด((A+C)/(B+D)) * 100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 96
ประชากรกลุ่มเป้าหมายทั่วประเทศ จำแนกเป็นตัวอย่างผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดำเนินการโดยส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ตามแผนเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ค่าเป้าหมาย96.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

รวบรวมจากผลการตรวจสอบเฝ้าระวังฯ ของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตามแบบฟอร์มที่กำหนด และนำเข้าในระบบ Dashboard ของกระทรวงสาธารณสุข โดยรายงานทุกไตรมาส

แหล่งข้อมูล

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงไม่
ตัวชี้วัดระดับเขตใช่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดไม่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 1, 2, 3 และ 4 (รายงานทุกวันที่ 20 ของเดือนธันวาคม, มีนาคม, มิถุนายน, กันยายน)
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2557

2558

2559

ร้อยละผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด  

(ไม่รวมส่วนภูมิภาค)

- ยา

- อาหาร

- เครื่องสำอาง

- เครื่องมือแพทย์

- วัตถุอันตราย

- วัตถุเสพติด

ร้อยละ

94.94

 

 

 

99.71

94.01

97.67

94.04

97.40

92.26

95.22

 

 

 

99.96

94.43

96.55

91.19

90.24

96.43

95.56

 

 

 

99.91

92.14

98.56

96.52

92.86

98.80

เกณฑ์การประเมินผล

ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด

ปี 2561 - 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

1. การพัฒนาระบบการจัดการความเสี่ยงด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ

1 มีแผนการจัดการความเสี่ยง (Risk management Plan) ของผลิตภัณฑ์สุขภาพ ทั้งส่วนกลาง (อย.) และส่วนภูมิภาค (จังหวัด) 

 

1. รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการจัดการความเสี่ยง (Risk management Plan) ของผลิตภัณฑ์สุขภาพ    รอบ 6 เดือน

 

1. รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการจัดการความเสี่ยง (Risk management Plan) ของผลิตภัณฑ์สุขภาพ    รอบ 9 เดือน

 

1. สรุปและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนการจัดการความเสี่ยง (Risk management Plan) ของผลิตภัณฑ์สุขภาพ

2. ข้อเสนอเชิงนโยบายในการจัดการปัญหาด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ

2. การตรวจสอบเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ

1.. มีแผนการเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพทั้งส่วนกลางและ         ส่วนภูมิภาค

2. ดำเนินการตามแผนเฝ้าระวังฯ ได้ ร้อยละ 30

1. ดำเนินการตาม         แผนเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพได้ ร้อยละ 65

1. ดำเนินการตาม         แผนเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพได้ ร้อยละ 100

1. สรุปและประเมินผลการดำเนินงานตาม     แผนเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ รวมถึงจัดทำข้อเสนอในการจัดการปัญหาด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ

 
วิธีการประเมินผล

จากรายงานสรุปผลของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

เอกสารสนับสนุน
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นายสมพร  ขจรวุฒิเดช                             เภสัชกรชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-7280      โทรศัพท์มือถือ : 086-637-8201

    โทรสาร : 02-590-7280                E-mail : spkj555@fda.moph.go.th

กองควบคุมเครื่องมือแพทย์

2. น.ส.บุณณดา หิรัญเจริญ                   เภสัชกรชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-7343      โทรศัพท์มือถือ : 081-455-5452

    โทรสาร : 02-590-7772                E-mail : mooparn@fda.moph.go.th

กองควบคุมวัตถุเสพติด

3. น.ส. แววตา  ประพัทธ์ศร                 เภสัชกรชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-7273     โทรศัพท์มือถือ : 085-485-2605

    โทรสาร : 02-591-8468                 E-mail : veawta@fda.moph.go.th

กลุ่มควบคุมเครื่องสำอาง  สำนักควบคุมเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย    

4. นางอรชุดา ธูปถมพงศ์                     เภสัชกรชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-7385                โทรศัพท์มือถือ : 083-771-2605

    โทรสาร : 02-591-8483                 E-mail : artp@fda.moph.go.th

กลุ่มควบคุมวัตถุอันตราย  สำนักควบคุมเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย

5. นางอัจจิมา  สถาพรเจริญยิ่ง              เภสัชกรชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-7358      โทรศัพท์มือถือ : 086-603-7214

    โทรสาร : 02-591-8477                 E-mail : udjima_sa@fda.moph.go.th

6. นายวราวุธ  เสริมสินสิริ                             เภสัชกรชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-7155      โทรศัพท์มือถือ : 089-796-1437

    โทรสาร : 02-590-7341                 E-mail : varavoot@hotmail.com

สำนักยา

7. น.ส. กนกเนตร  รัตนจันท                 นักวิชาการอาหารและยาชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-7030      โทรศัพท์มือถือ : 089-831-3381

    โทรสาร : 02-591-8460                 E-mail : planning.food@gmail.com

สำนักอาหาร

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

- สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

- สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

ส่วนภูมิภาค

1.นายอาทิตย์  พันเดช                       เภสัชกรชำนาญการพิเศษ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5907383        โทรศัพท์มือถือ : 084-7956951

   โทรสาร : 02-5918484                            E-mail : artypun@gmail.com

กองส่งเสริมงานคุ้มครองฯ (คบ) สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

ส่วนกลาง

1. น.ส. จิตธาดา  เซ่งเจริญ                   นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5907292        โทรศัพท์มือถือ : 081-8415786

   โทรสาร : 02-5918457                            E-mail : jtdtrs@fda.moph.go.th

กลุ่มติดตามและประเมินผล กองแผนงานและวิชาการ

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ

การบันทึกค่า A จำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบทางห้องปฏิบัติการที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด

  • ให้บันทึกจำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบทางห้องปฏิบัติการที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด เฉพาะไตรมาสนั้นๆ ไม่นับรวมไตรมาสก่อนหน้า

การบันทึกค่า B จำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับผลวิเคราะห์จากห้องปฏิบัติการทั้งหมด

  • ให้บันทึกจำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับผลวิเคราะห์จากห้องปฏิบัติการทั้งหมด เฉพาะไตรมาสนั้นๆ ไม่นับรวมไตรมาสก่อนหน้า

การบันทึกค่า C จำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ตรวจสอบโดยชุดทดสอบเบื้องต้นที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด

  • ให้บันทึกจำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ตรวจสอบโดยชุดทดสอบเบื้องต้นที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด เฉพาะไตรมาสนั้นๆ ไม่นับรวมไตรมาสก่อนหน้า

การบันทึกค่า D จำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับผลจากชุดทดสอบเบื้องต้นทั้งหมด

  • ให้บันทึกจำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับผลจากชุดทดสอบเบื้องต้นทั้งหมด เฉพาะไตรมาสนั้นๆ ไม่นับรวมไตรมาสก่อนหน้า
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>