ร้อยละของตำบลจัดการสุขภาพในการเฝ้าระวัง ป้องกันแก้ไขปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี
ผลการดำเนินงาน >>ชื่อตัวชี้วัด | ร้อยละของตำบลจัดการสุขภาพในการเฝ้าระวัง ป้องกันแก้ไขปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี | ||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
Child KPI | สร้าง KPI ย่อย | ||||||||||||||||||||||||||||||||
ปีงบประมาณ | 2561 | ||||||||||||||||||||||||||||||||
ระดับตัวชี้วัด | จังหวัด | ||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดที่ | 016 | ||||||||||||||||||||||||||||||||
Sort Order | 0 | ||||||||||||||||||||||||||||||||
คำนิยาม | ตำบลจัดการสุขภาพในการเฝ้าระวัง ป้องกันแก้ไขปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี หมายถึงตำบลที่มีการดำเนินงานเฝ้าระวัง คัดกรอง ป้องกันเพื่อแก้ไขปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี 5 มาตรการ ได้แก่ มาตรการที่ 1 การสร้างเสริมสุขภาพ หมายถึง ตำบลมีการดำเนินการออกและบังคับใช้ข้อบังคับ เทศบัญญัติ/หรือมาตรการทางสังคม ในการจัดการสิ่งแวดล้อม สิ่งปฏิกูล เพื่อลดการแพร่กระจายในสิ่งแวดล้อม คน ปลา ตำบลมีการสนับสนุนให้จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีในโรงเรียนโดยบูรณาการกับหลักสูตรแกนกลางของกระทรวงศึกษาธิการ มาตรการที่ 2 การควบคุมป้องกัน หมายถึงมีกิจกรรมการคัดกรองพยาธิใบไม้ตับ ในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป โดยการตรวจอุจจาระ รักษา และดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทุกรายที่ติดเชื้อ มาตรการที่ 3 การรักษาพยาบาล หมายถึงมีการคัดกรองมะเร็งท่อน้ำดี ในประชาชนอายุ 40 ปี ขึ้นไปด้วยวิธีอัลตราซาวด์ หากสงสัยมะเร็งท่อน้ำดี ดำเนินการส่งต่อเพื่อการรักษา ตรวจ CT หรือ MRI ต่อไป มาตรการที่ 4 การดูแลรักษา หมายถึงการผ่าตัดหรือรักษาแบบประคับประคองผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยมะเร็งท่อน้ำดีและให้การดูแล Palliative care ในผู้ป่วยระยะสุดท้าย มาตรการที่ 5 การสื่อสารสาธารณะ หมายถึงตำบลมีการดำเนินงานจัดกิจกรรมรณรงค์และสร้างกระแสสังคมในการลด เลิก การบริโภคปลาดิบ | ||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยตัวชี้วัด | ร้อยละ | ||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า A | ตำบล | ||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า A | จำนวนตำบลจัดการสุขภาพที่ดำเนินงานครบ 5 มาตรการ | ||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า B | ตำบล | ||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า B | จำนวนตำบลเป้าหมาย (613 ตำบล) | ||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า C | |||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า C | |||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า D | |||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า D | |||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า E | |||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า E | |||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า F | |||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า F | |||||||||||||||||||||||||||||||||
สูตรคำนวนตัวชี้วัด | (A/B)*100 | ||||||||||||||||||||||||||||||||
Operator | >= | ||||||||||||||||||||||||||||||||
เกณฑ์เป้าหมาย | ร้อยละ 80 | ||||||||||||||||||||||||||||||||
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย | ประชากรพื้นที่เป้าหมาย ได้แก่ ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป จำนวน 283,265 ราย ในพื้นที่ 29 จังหวัดเสี่ยงสูง 613 ตำบล ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 20 จังหวัด ภาคเหนือ 8 จังหวัด ภาคตะวันออก 1 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดนครราชสีมา อุดรธานี ขอนแก่น หนองคาย บึงกาฬ เลย หนองบัวลำภู มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ยโสธร อุบลราชธานี อำนาจเจริญ สุรินทร์ ศรีษะเกษ มุกดาหาร สกลนคร กาฬสินธุ์ บุรีรัมย์ ชัยภูมิ นครพนม เชียงใหม่ ลำปาง แพร่ ลำพูน แม่ฮ่องสอน น่าน พะเยา เชียงราย และ สระแก้ว (เขตพื้นที่สุขภาพที่ 1, 6, 7, 8, 9, 10) | ||||||||||||||||||||||||||||||||
ค่าเป้าหมาย | 80.00 | ||||||||||||||||||||||||||||||||
Max Value | 100.00 | ||||||||||||||||||||||||||||||||
วิธีการจัดเก็บข้อมูล | เก็บข้อมูลจากโปรแกรมฐานข้อมูลผลการดำเนินงานตามโครงการกำจัดพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ (Isan-cohort) | ||||||||||||||||||||||||||||||||
แหล่งข้อมูล | 1. จำนวนตำบลที่ดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ใช้ข้อมูลจากการดำเนินงานร่วมกับพื้นที่เป้าหมาย ได้แก่ สคร. 1, 6, 7, 8, 9, 10 2. โปรแกรมฐานข้อมูลผลการดำเนินงานตามโครงการกำจัดพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ (Isan-cohort) | ||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง | ไม่ | ||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับเขต | ไม่ | ||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด | ใช่ | ||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดสำคัญ | ไม่ | ||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัด Area Base | ไม่ | ||||||||||||||||||||||||||||||||
Tags | |||||||||||||||||||||||||||||||||
ระยะเวลาการประเมินผล | ไตรมาส 1, 2, 3 และ 4 | ||||||||||||||||||||||||||||||||
ข้อมูล Baseline |
| ||||||||||||||||||||||||||||||||
เกณฑ์การประเมินผล | ปี 2561 :
ปี 2562 :
ปี 2563 :
ปี 2564 :
| ||||||||||||||||||||||||||||||||
วิธีการประเมินผล | 1. ความสำเร็จของการดำเนินงานตามค่าเป้าหมาย ตัวชี้วัด “ร้อยละของตำบลจัดการสุขภาพในการเฝ้าระวัง ป้องกันแก้ไขปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี” ต้องมีการดำเนินงานครบทั้ง 5 มาตรการ รายไตรมาสอย่างต่อเนื่อง การดำเนินงานตามมาตรการ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 มาตรการที่ 1 การสร้างเสริมสุขภาพ / / / / มาตรการที่ 2 การควบคุมป้องกัน / / / / มาตรการที่ 3 การรักษาพยาบาล / / / / มาตรการที่ 4 การดูแลรักษา / / / / มาตรการที่ 5 การสื่อสารสาธารณะ / / / / 2. การวัดผลสำเร็จการดำเนินงานไตรมาสที่ 4 ต้องดำเนินงานครบทั้ง 5 มาตรการและ มีผลการดำเนินงานตามกิจกรรมสำคัญ ดังนี้ 2.1 ตำบลมีการออกและบังคับใช้ข้อบังคับจัดการ สิ่งปฏิกูล ลดการแพร่กระจายเชื้อในสิ่งแวดล้อม คน สัตว์ และมีการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีในโรงเรียน ทุกตำบลในพื้นที่ดำเนินการ 2.2 ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโดยการตรวจอุจจาระ และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 100 (คัดกรองตำบลละ 905 ราย ในพื้นที่ดำเนินการใหม่ และติดตามตรวจผู้ติดเชื้อซ้ำในพื้นที่ดำเนินการเดิม) 2.3 ประชาชนอายุ 40 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโดยการตรวจด้วยวิธีอัลตราซาวด์ร้อยละ 100 2.4 ผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดีได้รับการผ่าตัดร้อยละ 100 2.5 รณรงค์ สร้างกระแสปรุงปลาสุก และสนับสนุนผู้ประกอบการในการปรุงปลาปลอดพยาธิ เพื่อให้ผู้ประกอบการประกอบผลิตภัณฑ์ปลาปลอดพยาธิและบังคับใช้กฎหมายให้เป็นรูปธรรม การให้ความรู้/อบรมกับผู้ประกอบการ ทุกตำบลในพื้นที่ดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ≥ร้อยละ 70 ร้อยละ 75 ร้อยละ 80 ร้อยละ 85 ≤ร้อยละ 90 | ||||||||||||||||||||||||||||||||
เอกสารสนับสนุน |
| ||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด | 1. นายแพทย์โสภณ เอี่ยมศิริถาวร ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่อทั่วไป โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5903160 โทรศัพท์มือถือ : 081-5559216 โทรสาร : E-mail : 2. นางอรนาถ วัฒนวงษ์ หัวหน้ากลุ่มโครงการตามพระราชดำริฯ โรคหนอนพยาธิโรคในถิ่นทุรกันดาร โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5903180, 02-5918436 โทรศัพท์มือถือ : 081-8753568 โทรสาร : 02-5918436 E-mail : oranard.w@gmail.com 3. นายอัมภัส วิเศษโมรา กลุ่มโครงการตามพระราชดำริฯ โรคหนอนพยาธิ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5903180, 02-5918436 โทรศัพท์มือถือ : 084-5147012 โทรสาร : 02-5918436 E-mail : tao_ampas@hotmail.com กรมควบคุมโรค | ||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง) | สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1, 6, 7, 8, 9 และ 10 | ||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน | 1. นางอรนาถ วัฒนวงษ์ หัวหน้ากลุ่มโครงการตามพระราชดำริฯ โรคหนอนพยาธิโรคในถิ่นทุรกันดาร โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5903180, 02-5918436 โทรศัพท์มือถือ : 081-8753568 โทรสาร : 02-5918436 E-mail : oranard.w@gmail.com 2. นายอัมภัส วิเศษโมรา กลุ่มโครงการตามพระราชดำริฯ โรคหนอนพยาธิ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5903180, 02-5918436 โทรศัพท์มือถือ : 084-5147012 โทรสาร : 02-5918436 E-mail : tao_ampas@hotmail.com กรมควบคุมโรคกรมควบคุมโรค | ||||||||||||||||||||||||||||||||
รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base | |||||||||||||||||||||||||||||||||
Areabase Kpi Regioncode | |||||||||||||||||||||||||||||||||
หมายเหตุ | การบันทึกค่า B (จำนวนตำบลเป้าหมาย)
การบันทึกค่า A (จำนวนตำบลจัดการสุขภาพที่ดำเนินงานครบ 5 มาตรการ)
| ||||||||||||||||||||||||||||||||
Last Update | 2021-03-24 14:22:39 | ||||||||||||||||||||||||||||||||
Download |