ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน
ผลการดำเนินงาน >>ชื่อตัวชี้วัด | ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
Child KPI | สร้าง KPI ย่อย | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ปีงบประมาณ | 2561 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ระดับตัวชี้วัด | จังหวัด | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดที่ | 006 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Sort Order | 0 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คำนิยาม | เด็กวัยเรียน หมายถึง เด็กที่มีอายุตั้งแต่ 6 ปี จนถึง 14 ปี (โดยเริ่มนับตั้งแต่อายุ 6 ปีเต็ม – 14 ปี 11 เดือน 29 วัน) โรงเรียนระดับประถมศึกษาทุกสังกัด หมายถึง โรงเรียนระดับประถมศึกษาหรือโรงเรียนระดับประถมศึกษาขยายโอกาส และมัธยมศึกษา (มัธยมศึกษาตอนต้น ม.1-ม.3) ภาวะเตี้ย หมายถึง ส่วนสูงของเด็กเมื่อเทียบกับเกณฑ์อายุเดียวกัน มีค่าต่ำกว่า – 2 S.D. แสดงว่าเด็กเติบโตไม่ดีอาจเนื่องมาจากมีการขาดอาหารเรื้อรัง หรือมีการเจ็บป่วยบ่อยๆ ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน หมายถึง น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง > + 2 S.D. ขึ้นไปโดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตของกรมอนามัย ปี 2542 ภาวะผอม หมายถึง น้ำหนักของเด็กเมื่อเทียบกับเกณฑ์ส่วนสูงเดียวกัน มีค่าต่ำกว่า -2 S.D. แสดงว่าเด็กมีน้ำหนักน้อยกว่าเด็กที่มีส่วนสูงเดียวกัน สูงดี หมายถึง เด็กที่มีส่วนสูงอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์ขึ้นไป เมื่อเทียบกับกราฟการเจริญเติบโต กรมอนามัย ปี 2542 มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ -1.5 SD ของส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ สมส่วน หมายถึง เด็กที่มีน้ำหนักอยู่ในระดับสมส่วน เมื่อเทียบกราฟการเจริญเติบโต กรมอนามัย ปี 2542 มีค่าระหว่าง +1.5 SD ถึง -1.5 SD ของน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง เด็กสูงดีสมส่วน หมายถึง เด็กที่มีส่วนสูงอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์ขึ้นไป และมีน้ำหนักอยู่ในระดับสมส่วน (ในคนเดียวกัน) ส่วนสูงเฉลี่ย หมายถึง ค่าเฉลี่ยของส่วนสูงในเด็กชายและเด็กหญิง อายุ 12 ปี (เด็กอายุ 12 ปีเต็ม ถึง 12 ปี 11 เดือน 29 วัน) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยตัวชี้วัด | ร้อยละ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า A | คน | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า A | จำนวนเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า B | คน | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า B | จำนวนเด็กอายุ 6-14 ปีที่ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทั้งหมด | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า C | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า C | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า D | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า D | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า E | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า E | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า F | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า F | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
สูตรคำนวนตัวชี้วัด | (A/B)*100 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Operator | >= | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เกณฑ์เป้าหมาย | ร้อยละ 68 ของเด็กวัยเรียน (6-14 ปี) สูงดีสมส่วน | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย | เด็กอายุ 6-14 ปี ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาทุกสังกัด (มัธยมศึกษาตอนต้น ม.1-ม.3 ) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ค่าเป้าหมาย | 68.00 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Max Value | 100.00 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
วิธีการจัดเก็บข้อมูล | ระบบฐานข้อมูล 43 แฟ้ม กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กระทรวงสาธารณสุข สุ่มสำรวจภาวะโภชนาการร่วมกับการสำรวจทันตสุขภาพในเด็กอายุ 12 ปี | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
แหล่งข้อมูล | ระบบรายงาน HDC สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด การสำรวจภาวะโภชนาการร่วมกับการสำรวจทันตสุขภาพในเด็กอายุ 12 ปี | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง | ไม่ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับเขต | ไม่ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด | ใช่ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดสำคัญ | ไม่ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัด Area Base | ไม่ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Tags | 43 แฟ้ม | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ระยะเวลาการประเมินผล | ไตรมาส 2 และ 4 (วิเคราะห์และสรุปผล ปีละ 2 ครั้ง โดยจัดเก็บข้อมูล 2 ภาคเรียน คือ : ภาคเรียนที่ 1 พื้นที่ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และลงข้อมูลเดือน พ.ค., มิ.ย., ก.ค. ส่วนกลางจะตัดข้อมูลรายงาน ณ วันที่ 15 ส.ค. ภาคเรียนที่ 2 พื้นที่ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และลงข้อมูล เดือน ต.ค., พ.ย., ธ.ค., ม.ค. ส่วนกลางจะตัดข้อมูลรายงาน ณ วันที่ 15 ก.พ. | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ข้อมูล Baseline |
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เกณฑ์การประเมินผล | ปี 2561 :
ปี 2562 :
ปี 2563 :
ปี 2564 :
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
วิธีการประเมินผล | 1.จังหวัดมีการดำเนินงานดังนี้ 1.1 จัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมการดำเนินงานส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนสูงดี สมส่วน การป้องกันและแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียนและดำเนินการตามแผน 1.2 จัดกิจกรรม รณรงค์ส่งเสริมเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน และแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการ (ผอม อ้วน เตี้ย ) - รณรงค์ดื่มนมจืด ปีละ 2 ครั้ง วันเด็กแห่งชาติและวันดื่มนมโลก - พัฒนาให้มีโรงเรียนต้นแบบด้านโภชนาการ - กิจกรรมที่ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ เพื่อส่งเสริมการบริโภคผัก นม ไข่ที่เป็นรูปธรรม - จัดมหกรรมกระโดดโลดเต้นเล่นสนุกเพื่อเด็กไทยสูงสมส่วนแข็งแรง IQ EQ ดี 1.3 คัดกรองเด็กกลุ่มเสี่ยงส่งต่อสถานบริการสาธารณสุขในระบบ service plan 1.4 ผลักดันให้มีโรงเรียนต้นแบบด้านการส่งเสริมสุขภาพ อย่างน้อย 3 แห่ง 1.5 ติดตาม ควบคุม กำกับให้หน่วยงานในพื้นที่รับผิดชอบรายงานข้อมูลสถานการณ์ภาวะโภชนาการในระบบรายงาน HDC ให้เป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนดใน Template ปีละ 2 ครั้ง พร้อมทั้งตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลและความครอบคลุม คือ : ภาคเรียนที่ 1 พื้นที่ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และลงข้อมูล เดือน พ.ค., มิ.ย., ก.ค. ส่วนกลางจะตัดข้อมูลรายงาน ณ วันที่ 15 ส.ค. ภาคเรียนที่ 2 พื้นที่ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และลงข้อมูล เดือน ต.ค., พ.ย., ธ.ค., ม.ค. ส่วนกลางจะตัดข้อมูลรายงาน ณ วันที่ 15 ก.พ. 1.6 รวบรวมสรุปและสรุปผลการดำเนินงานของจังหวัดส่งศูนย์อนามัยเขต ตามรายไตรมาส ได้แก่ - จำนวนโรงเรียนต้นแบบด้านการส่งเสริมสุขภาพ - จำนวนโรงเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ดื่มนมจืดและกิจกรรมกระโดดโลดเต้นเล่นสนุก - จำนวนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ดื่มนมจืดและกิจกรรมกระโดดโลดเต้นเล่นสนุก - รายงานจำนวนเด็กกกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการคัดกรอง ส่งต่อ สถานบริการสาธารณสุข 2. ศูนย์อนามัยมีการดำเนินงานดังนี้ 2.1 รายงานงานผลการดำเนินงานส่งส่วนกลาง รายไตรมาส 2.2 ตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลและความครอบคลุมภาวะโภชนาการและเทียบเคียงกับค่าเป้าหมายในระบบรายงาน HDC | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เอกสารสนับสนุน | 1. แนวทางการคัดกรอง ส่งต่อ เด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยงในสถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข และคลินิก DPAC 2. คู่มือนักจัดการน้ำหนักเด็กวัยเรียน (Smart Kids Coacher) 3. แนวทางการควบคุมป้องกันภาวะอ้วนในเด็กนักเรียน 4. หนังสืออยากผอม...มาลองทำดู “ดูแลหุ่นสวยด้วยตัวเอง”สำหรับเด็กวัยเรียนและวัยใส 5. หนังสือผักผลไม้สีรุ้ง 6. หนังสือเมนูผักกุ๊กน้อย 4 ภาค 7. แนวทางส่งเสริมกิจกรรมทางกายในโรงเรียน 8. สื่อสิ่งพิมพ์และวิดิทัศน์กิจกรรมทางกายสำหรับเด็กวัยเรียน | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด | 1. แพทย์หญิงพรเลขา บรรหารศุภวาท นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904329 โทรศัพท์มือถือ : โทรสาร : 02-5904339 E-mail : ponlekha@anamai.mail.go.th 2. นางสาวพรวิภา ดาวดวง นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904334 โทรศัพท์มือถือ : โทรสาร : 02-5904339-0 E-mail : pornwipa.dd@anamai.mail.go.th กลุ่มส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยเรียน สำนักโภชนาการ กรมอนามัย 3. ดร.นภัสบงกช ศุภะพิชน์ นักวิชาการชำนาญการพิเศษ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904590 โทรศัพท์มือถือ : โทรสาร : 02-5904584 E-mail : suppich_2@hotmail.com กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีกิจกรรมทางกายวัยรุ่นและวัยเรียน กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง) | กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กระทรวงสาธารณสุข กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ สำนักโภชนาการ กรมอนามัย โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904336 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน | 1. นางสาวใจรัก ลอยสงเคราะห์ นักโภชนาการปฏิบัติการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904334 โทรศัพท์มือถือ : โทรสาร : 02-5904339 E-mail : jairak.l@anamai.mail.go.th กลุ่มส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยเรียน สำนักโภชนาการ กรมอนามัย 2. นางสาวสุรีย์รัตน์ พิพัฒน์จารุกิตติ์ นักโภชนาการปฏิบัติการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904336 โทรศัพท์มือถือ : โทรสาร : 02-5904339 E-mail : sureerat.pi@anamai.mail.go.th กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ สำนักโภชนาการ กรมอนามัย 3. นางสาวขนิษฐา ระโหฐาน นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904590 โทรศัพท์มือถือ : โทรสาร : 02-5904584 E-mail :got_achi@hotmail.com กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีกิจกรรมทางกายวัยรุ่นและวัยเรียน กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Areabase Kpi Regioncode | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หมายเหตุ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Last Update | 2021-03-24 14:22:39 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Download |