รายจ่ายสุขภาพต่อหัวที่ปรับด้วยโครงสร้างอายุ ของ 3 ระบบหลักประกันสุขภาพภาครัฐ (ค่าเฉลี่ยรายจ่ายสุขภาพต่อหัวสมาชิกที่ปรับด้วยโครงสร้างอายุของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ)

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดรายจ่ายสุขภาพต่อหัวที่ปรับด้วยโครงสร้างอายุ ของ 3 ระบบหลักประกันสุขภาพภาครัฐ (ค่าเฉลี่ยรายจ่ายสุขภาพต่อหัวสมาชิกที่ปรับด้วยโครงสร้างอายุของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ)
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2560
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่86.1
Sort Order-
คำนิยาม
  1. ค่าเฉลี่ยรายจ่ายสุขภาพต่อหัวสมาชิกที่ปรับด้วยโครงสร้างอายุของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ
  2. ค่าเฉลี่ยรายจ่ายสุขภาพต่อหัวสมาชิกที่ปรับด้วยโครงสร้างอายุของระบบประกันสังคม
  3. ค่าเฉลี่ยรายจ่ายสุขภาพต่อหัวสมาชิกที่ปรับด้วยโครงสร้างอายุของระบบประกันสุขภาพแห่งชาติ
  4. ค่าเฉลี่ยรายจ่ายสุขภาพต่อหัวสมาชิกที่ปรับด้วยโครงสร้างอายุของระบบหลักประกันสุขภาพภาครัฐทั้งสามระบบ

เป็นการเปรียบเทียบระหว่างค่า A B C กับ D

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aบาท
นิยามของค่า Aค่าเฉลี่ยรายจ่ายสุขภาพต่อหัวสมาชิกที่ปรับด้วยโครงสร้างอายุของระบบสวัสดิการ รักษาพยาบาลข้าราชการ
หน่วยของค่า Bบาท
นิยามของค่า Bค่าเฉลี่ยรายจ่ายสุขภาพต่อหัวสมาชิกที่ปรับด้วยโครงสร้างอายุของระบบหลักประกันสุขภาพภาครัฐทั้งสามระบบ
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด((A-D)/D)*100
Operator=
เกณฑ์เป้าหมายพิสัยความต่างต้อง น้อยกว่าหรือเท่ากับปีก่อนหน้า
ประชากรกลุ่มเป้าหมายระบบหลักประกันสุขภาพภาครัฐ 3 ระบบหลัก ได้แก่ ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ, ระบบประกันสังคม และ ระบบประกันสุขภาพแห่งชาติ
ค่าเป้าหมาย0.00
Max Value0.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

ใช้ข้อมูลทุติยภูมิของระบบประกันสุขภาพภาครัฐ 3 ระบบหลัก

- รวบรวมรายจ่ายสุขภาพของแต่ละระบบประกันสุขภาพภาครัฐ 3 ระบบหลัก

- รวบรวมจำนวนสมาชิกทั้งหมดของแต่ละระบบประกันสุขภาพภาครัฐ 3 ระบบหลัก และ

  จำนวนสมาชิกแยกตามกลุ่มอายุ (อ้างอิงกลุ่มอายุของสำนักงานสถิติแห่งชาติ)

แหล่งข้อมูล

ฐานข้อมูลของระบบหลักประกันสุขภาพภาครัฐ 3 ระบบหลัก

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงใช่
ตัวชี้วัดระดับเขตไม่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดไม่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 4 (ภายใน 2565)
ข้อมูล Baseline

ขณะนี้ยังไม่มี baseline data ต้องทำการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลปี 2557, 2558 และ 2559

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2557

2558

2559

ยังไม่มี Baseline data ต้องรอการวิจัย

 

 

 

 

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2560 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

พิสัยความต่างต้อง

น้อยกว่าหรือเท่ากับปีก่อนหน้า

ปี 2561 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

พิสัยความต่างต้อง

น้อยกว่าหรือเท่ากับปีก่อนหน้า

ปี 2562 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

พิสัยความต่างต้อง

น้อยกว่าหรือเท่ากับปีก่อนหน้า

ปี 2563 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

พิสัยความต่างต้อง

น้อยกว่าหรือเท่ากับปีก่อนหน้า

ปี 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

พิสัยความต่างต้อง

น้อยกว่าหรือเท่ากับปีก่อนหน้า

 
วิธีการประเมินผล

1. จัดเก็บข้อมูลทุติยภูมิของระบบประกันสุขภาพภาครัฐ 3 ระบบหลัก

2. ทำการคำนวณตามสูตร

3. วิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบกับเป้าหมายในแต่ละปี

เอกสารสนับสนุน

หนังสือ SAFE

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. ดร.วลัยพร พัชรนฤมล                      นักวิจัยอาวุโส

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5902366       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 02-5902385                    E-mail : walaiporn@ihpp.thaigov.net

สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางสาวชาฮีดา  วิริยาทร                   ผู้ช่วยนักวิจัย

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5902366       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 02-5902385                    E-mail : shaheda@ihpp.thaigov.net

สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>