อัตราตายจากการบาดเจ็บ (Trauma)

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดอัตราตายจากการบาดเจ็บ (Trauma)
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2560
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่056
Sort Order0
คำนิยาม

การเสียชีวิต จากการบาดเจ็บ ขึ้นกับกลไกของ ความรุนแรงที่เกิด อาจพบการเสียชีวิต ตั้งแต่ ก่อนถึงโรงพยาบาลระหว่างนำส่งโรงพยาบาล หรือ เมื่อถึง โรงพยาบาลแล้ว

จากข้อมูลที่เคยรวบรวม ส่วนใหญ่ เป็นข้อมูลของผู้ป่วยที่มารับรักษาในโรงพยาบาล

การเสียชีวิตของผู้ป่วยในจากการบาดเจ็บ ที่มี Ps score มากกว่าหรือเท่ากับ 0.75หมายถึง การเสียชีวิตของผู้ป่วยบาดเจ็บทั้งหมด ซึ่งมีการคำนวณ ค่า Probability of survival (Ps) ได้มากกว่าหรือเท่ากับ 0.75 (เอกสารแนบนิยาม Multiple injuries)

อย่างไรก็ตาม เพื่อลด ความสูญเสีย การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ กรณีที่ผู้ป่วยมาถึงโรงพยาบาล ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติจากการบาดเจ็บ ได้รับบริการการแพทย์ อย่าง รวดเร็ว ทั่วถึง และ ปลอดภัย 

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aคน
นิยามของค่า Aจำนวนผู้ป่วยใน จากการบาดเจ็บ (19 สาเหตุ) ที่มีค่า Ps score มากกว่าหรือเท่ากับ 0.75 และเสียชีวิต
หน่วยของค่า Bคน
นิยามของค่า Bจำนวนผู้ป่วยใน จากการบาดเจ็บ (19 สาเหตุ)ทุกราย ที่มีค่า Ps score มากกว่าหรือเท่ากับ 0.75
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator<
เกณฑ์เป้าหมายน้อยกว่า ร้อยละ 1
ประชากรกลุ่มเป้าหมายผู้ป่วยบาดเจ็บที่รับเข้ารักษาภายในโรงพยาบาลทุกราย ที่มีค่า Ps score มากกว่าหรือเท่ากับ 0.75
ค่าเป้าหมาย1.00
Max Value1.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

โปรแกรม IS WIN

แหล่งข้อมูล

ฐานข้อมูล IS

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงใช่
ตัวชี้วัดระดับเขตไม่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดไม่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 2 และ 4 (วัดระดับเขตบริการสุขภาพ)
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2557

2558

2559

-

-

-

-

-

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2560 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

น้อยกว่า ร้อยละ 1

 

น้อยกว่า ร้อยละ 1

 

ปี 2561 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

น้อยกว่า ร้อยละ 1

 

น้อยกว่า ร้อยละ 1

 

ปี 2562 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

น้อยกว่า ร้อยละ 1

 

น้อยกว่า ร้อยละ 1

 

ปี 2563 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

น้อยกว่า ร้อยละ 1

 

น้อยกว่า ร้อยละ 1

 

ปี 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

น้อยกว่า ร้อยละ 1

 

น้อยกว่า ร้อยละ 1

 
วิธีการประเมินผล

1. ผู้บริหาร รพ.ระดับ M1 ขึ้นไป สนับสนุนการทีม Trauma admin unit  สามารถ Function

2. สสจ.สนับสนุนการพัฒนา Trauma & Emergency Administrative Unit ในโรงพยาบาล ระดับ M1 ขึ้นไปให้ สามารถ function ได้ และเป็นผู้รวบรวมข้อมูลในภาพรวมของจังหวัดที่ถูกรายงานหรือนำเสนอข้อมูลที่ถูก Key (จากโปรแกรม IS win) โดย Trauma admin unit ของโรงพยาบาล ระดับ M1 ขึ้นไป โดยเก็บข้อมูลย้อนหลัง 3 เดือน

เอกสารสนับสนุน

Guide line การจัดตั้ง Trauma admin unit จัดพิมพ์และเผยแพร่โดยกรมการแพทย์

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. น.พ.สมประสงค์ ทองมีสี                  

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 038-931000      โทรศัพท์มือถือ : 080-4341143

โทรสาร : 038-931100                  E-mail : tongmeesee@gmail.com

โรงพยาบาลชลบุรี

2. พ.ญ.นฤมล  สวรรค์ปัญญาเลิศ            หัวหน้ากลุ่มฉุกเฉินทางการแพทย์             

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906286      โทรศัพท์มือถือ : 081-8424148

โทรสาร : 02-5918276                   E-mail : mertthailand@gmail.com

กรมการแพทย์

3. นพ.พัฒธพงษ์ ประภาสันติกุล            นายแพทย์ชำนาญการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน :                       โทรศัพท์มือถือ :

โทรสาร :                                    E-mail :

โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช

4. น.พ. ศานิตย์  นาวิกบุตร                    นายแพทย์ปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-3539713      โทรศัพท์มือถือ : 086-4028863

โทรสาร :02-3539756                    E-mail : navikting@gmail.com

โรงพยาบาลเลิดสิน

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. พ.ญ.นฤมล สวรรค์ปัญญาเลิศ           หัวหน้ากลุ่มฉุกเฉินทางการแพทย์  

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906288           โทรศัพท์มือถือ : 081-8424148

โทรสาร : 02-5918276                        E-mail : mertthailand@gmail.com

                                                              ieip.dms@gmail.com

กรมการแพทย์

2.แพรจิตร จันทร์ฐิติวงศ์                               นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906275,6279              โทรศัพท์มือถือ 089-4484748

โทรสาร : 02-5918276                                 E-mail : pairjit@yahoo.com

กลุ่มฉุกเฉินทางการแพทย์ กรมการแพทย์

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1.พ.ญ.นฤมล สวรรค์ปัญญาเลิศ           หัวหน้ากลุ่มฉุกเฉินทางการแพทย์             

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906286          โทรศัพท์มือถือ : 081-8424148

โทรสาร : 02-5918276                      E-mail : mertthailand@gmail.com

                                                            ieip.dms@gmail.com

กรมการแพทย์

2.แพรจิตร จันทร์ฐิติวงศ์                                นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906275,6279         โทรศัพท์มือถือ 089-4484748

   โทรสาร : 02-5918276                               E-mail : pairjit@yahoo.com

กลุ่มฉุกเฉินทางการแพทย์ กรมการแพทย์

3.นพ.ภัทรวินฑ์ อัตตะสาระ                       รองผู้อำนวยการสำนักนิเทศระบบการแพทย์
  

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906357            โทรศัพท์มือถือ :  081-9357334

    โทรสาร 02-9659851                         E-mail : pattarawin@gmail.com

สำนักนิเทศระบบ การแพทย์

4.นายปวิช อภิปาลกุล                          นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906352          โทรศัพท์มือถือ :  085-9594499

   โทรสาร 02-5918279                        E-mail : moeva_dms@yahoo.com

สำนักยุทธศาสตร์การแพทย์ กรมการแพทย์

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>