ร้อยละของระบบ ECS คุณภาพในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป
ผลการดำเนินงาน >>ชื่อตัวชี้วัด | ร้อยละของระบบ ECS คุณภาพในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
Child KPI | สร้าง KPI ย่อย | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ปีงบประมาณ | 2560 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ระดับตัวชี้วัด | เขต | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดที่ | 053 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Sort Order | 0 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คำนิยาม | ECS : Emergency Care System ( ระบบการรักษาพยาบาลฉุกเฉิน ) การพัฒนาตัวชี้วัด ECS คุณภาพ ในโรงพยาบาล โดยทั่วไปจะเน้นวัด ใน 3 ส่วน คือ มิติที่ 1 มิติการบริการ และนโยบาย หมายถึง การประเมินผู้อำนวยการและทีมบริหาร เกี่ยวกับนโยบาย การสนับสนุนการพัฒนาระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉิน มิติที่ 2 มิติผู้ให้บริการ จะเน้นในประเด็น ความพร้อมของทรัพยากร ได้แก่ อาคาร สถานที่ บุคลากร ระบบการให้คำปรึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล มิติที่ 3 มิติด้านผู้รับบริการคือ เน้นในด้านผลลัพธ์จากการเข้ารับบริการรักษาพยาบาล (อ้างอิงนิยาม จากแนวทางการพัฒนาสู่มาตรฐานด้านการรักษาพยาบาลของโรงพยาบาลระดับต่างๆ จัดทำโดย กรมการแพทย์ โดยความร่วมมือจากสมาคมเวชศาสตร์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย) นอกจากนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับการเตรียมความพร้อมของโรงพยาบาล ในปี พ.ศ. 2560 นี้ กระทรวงสาธารณสุขเน้นการพัฒนาระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉินในส่วนของภาวะภัยสุขภาพด้านต่างๆ จึงได้กำหนดเก็บข้อมูลตัวชี้วัด ECS คุณภาพ จากการประเมินด้านการรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาล โดยใช้แบบประเมินด้านการรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาล (Hospital Based Emergency Care System) ทั้ง 12 องค์ประกอบ เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ และให้ข้อเสนอแนะเพื่อให้เกิดการพัฒนา ECS คุณภาพ (out put) และหลังจากนั้นจึงเลือกดึงข้อมูลในองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับทิศทางของตัวชี้วัดในแต่ละปีไปใช้เป็นลำดับต่อไป โดยการประเมินสามารถทำได้ทั้งจากโรงพยาบาลเป็นผู้ประเมินตนเอง (Internal survey) และจากองค์กร หรือผู้นิเทศจากภายนอก (External survey) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยตัวชี้วัด | ร้อยละ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า A | แห่ง | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า A | จำนวนโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไปที่มีค่าคะแนนการประเมินประสิทธิภาพในการรองรับการดูแลภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน (มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 40 ) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า B | แห่ง | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า B | จำนวนโรงพยาบาลระดับ F2 ทั้งหมด ใน จังหวัด/ เขตสุขภาพ ที่มีการประเมินตนเองด้านการรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาล | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า C | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า C | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า D | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า D | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า E | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า E | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า F | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า F | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
สูตรคำนวนตัวชี้วัด | (A/B)*100 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Operator | >= | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เกณฑ์เป้าหมาย | ร้อยละ 70 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย | โรงพยาบาล ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขขนาด F2 ขึ้นไป | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ค่าเป้าหมาย | 70.00 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Max Value | 100.00 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
วิธีการจัดเก็บข้อมูล | เก็บข้อมูลการประเมินด้านการรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาล ระดับ F2 ขึ้นไป ในภาพรวม ทั้ง 12 องค์ประกอบ และเลือกองค์ประกอบที่ 4 เรื่อง ความสามารถในการรองรับภาวะฉุกเฉินหมู่และภาวะภัยพิบัติ (MCI และ Disaster management)เป็นหัวข้อหลักเพื่อนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ผล และสรุปเป็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ (out put) นำไปสู่การพัฒนา ECS คุณภาพ รวบรวมโดยกลุ่ม/ฝ่ายที่รับผิดงานด้านการแพทย์ฉุกเฉินและสาธารณภัย หรืองานที่เกี่ยวข้องที่ได้รับมอบหมายจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
แหล่งข้อมูล | 1. จากข้อมูลจากการประเมินตนเองด้านการรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป (Internal survey) 2. จากข้อมูลจากกลุ่ม/ฝ่ายที่รับผิดงานด้านสาธารณภัย และการแพทย์ฉุกเฉินที่ได้รับมอบหมายจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ให้เป็นผู้รวบรวมข้อมูลการประเมินด้านการรักษาพยาบาลฉุกเฉินจากโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง | ไม่ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับเขต | ใช่ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด | ไม่ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดสำคัญ | ไม่ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัด Area Base | ไม่ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Tags | PA, สตป. | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ระยะเวลาการประเมินผล | ไตรมาส 4 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ข้อมูล Baseline |
| ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เกณฑ์การประเมินผล | ปี 2560 :จำนวนโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไปที่ผ่านเกณฑ์การประเมินประสิทธิภาพในการรองรับการดูแลภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์(มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 40 )
ปี 2561 :
ปี 2562 :
ปี 2563 :
ปี 2564 :
| ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
วิธีการประเมินผล | ขั้นตอนที่ 1. โรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไปมีคณะกรรมการพัฒนาระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาลเพื่อทำหน้าที่ ประเมินด้านการรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาลทั้ง 12 องค์ประกอบ ตามแบบฟอร์มการประเมินด้านการรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาล (Hospital Based Emergency Care System) ในภาพรวม ไม่น้อยกว่าปีละ 1 ครั้ง มาวิเคราะห์ผลตอบค่าตัวชี้วัด นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินด้านการรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาล ระดับ F2 ขึ้นไป เฉพาะในองค์ประกอบที่ 4 เรื่อง ความสามารถในการรองรับภาวะฉุกเฉินหมู่และภาวะภัยพิบัติ (MCI และ Disaster management) มาสรุปเป็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ (out put) นำไปสู่การพัฒนา ECS คุณภาพ นำข้อมูลจากข้อ 1.1 - 1.2 มาวิเคราะห์เชิงปริมาณและคุณภาพ เพื่อนำเสนอผลการดำเนินงานต่อผู้บริหารของโรงพยาบาล และ สสจ. เพื่อนำไปประมวลผลในภาพรวมของจังหวัด นำเสนอข้อมูลต่อหน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง) ขั้นตอนที่ 2 เขตสุขภาพ /สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 2.1 สนับสนุนให้โรงพยาบาลระดับ A (รพศ./ รพท.) ส่งบุคลากรทางการแพทย์ เข้ารับการอบรมตามหลักสูตรการเตรียมความพร้อมของโรงพยาบาลในการรับภาวะภัยสุขภาพด้านต่างๆ(Hospital preparedness for Emergency : HOPE) ของกระทรวงสาธารณสุข 2.2 สนับสนุนให้โรงพยาบาล ระดับ F2 ขึ้นไปจัดทำแผนรองรับภาวะภัยสุขภาพด้านต่างๆ สำหรับโรงพยาบาล 2.3 สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพทีม MERT, Mini MERT, MCATT และ SRRT ให้มีความพร้อมในการปฏิบัติภารกิจรองรับภาวะภัยสุขภาพด้านต่างๆ ขั้นตอนที่ 3. เขตสุขภาพ /สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด มีการซ้อมแผนรองรับภาวะภัยสุขภาพด้านต่างๆ และสรุปผลการดำเนินการ เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานต่อไป | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เอกสารสนับสนุน | แบบประเมินด้านการรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาล (Hospital Based Emergency Care System) ของกรมการแพทย์ ( มีการพัฒนาและทดสอบร่วมกับทีม ECS ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด | ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ 1. พ.ญ.นฤมล สวรรค์ปัญญาเลิศ หัวหน้ากลุ่มฉุกเฉินทางการแพทย์ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906286 โทรศัพท์มือถือ : 081-8424148 โทรสาร : 02-591-8276 E-mail : mertthailand@gmail.com, Ieip.dms@gmail.com กรมการแพทย์ 2. น.พ.รัฐพงษ์ บุรีวงศ์ แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน โทรศัพท์ที่ทำงาน : 035-211888 ต่อ 2103 โทรศัพท์มือถือ : 086-5694886 โทรสาร : 035-242182 E-mail : rattapong.b@gmail.com โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา 3. นพ.ชาติชาย คล้ายสุบรรณ โทรศัพท์ที่ทำงาน : โทรศัพท์มือถือ : 086-1414769 โทรสาร : E-mail : โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร์ จ.ปราจีนบุรี 4. นพ.ไพโรจน์ เครือกาญจนา หัวหน้ากลุ่มงานเวชศาสตร์ฉุกเฉิน โทรศัพท์ที่ทำงาน : โทรศัพท์มือถือ : 081-6400614 โทรสาร : E-mail : โรงพยาบาลราชวิถี 5. นพ.สัจจะ ชลิตาภรณ์ โทรศัพท์ที่ทำงาน : โทรศัพท์มือถือ : 095-9254656 โทรสาร : E-mail : tsenjoyme@gmail.com กลุ่มงานเวชศาสตร์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี 6. นพ.เกษมสุข โยธาสมุทร โทรศัพท์ที่ทำงาน : โทรศัพท์มือถือ : 083-8033310 โทรสาร : E-mail : k.yothasamutr@gmail.com กลุ่มงานเวชศาสตร์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลเลิดสิน 7. นางธัณณ์จิรา ธนาศิริธัชนันท์ รองผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์ โทรศัพท์ที่ทำงาน : โทรศัพท์มือถือ : 085-4881669 โทรสาร : E-mail : thunjira.t@niems.go.th สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ผู้ประสานงานตัวชี้วัด 1. นพ.กิตติ์พงศ์ สัญชาตวิรุฬห์ ผู้อำนวยการสำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน โทรศัพท์ที่ทำงาน : โทรศัพท์มือถือ : 081-2554711 โทรสาร : Email : dr_nok@yahoo.com สำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน 2. นพ.สุนทร ชินประสาทศักดิ์ รองผู้อำนวยการสำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน โทรศัพท์ที่ทำงาน : โทรศัพท์มือถือ : 081-6606069 โทรสาร : Email: soontornchin@gmail.com สำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน 3. พ.ญ.นฤมล สวรรค์ปัญญาเลิศ หัวหน้ากลุ่มฉุกเฉินทางการแพทย์ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906286 โทรศัพท์มือถือ : 081-8424148 โทรสาร : 02-591-8276 E-mail : mertthailand@gmail.com, Ieip.dms@gmail.com กรมการแพทย์ 4. นางนริศรา แย้มทรัพย์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906285 โทรศัพท์มือถือ : 081-9883925 โทรสาร : 02-5918276 E-mail : narissara.yamsub@gmail.com กลุ่มฉุกเฉินทางการแพทย์ กรมการแพทย์ 5. นางพรทิพย์ บุนนาค นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : โทรศัพท์มือถือ : 081-9241771 โทรสาร : Email: pherex099@gmail.com สำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง) | 1. พ.ญ.นฤมล สวรรค์ปัญญาเลิศ หัวหน้ากลุ่มฉุกเฉินทางการแพทย์ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906286 โทรศัพท์มือถือ : 081-8424148 โทรสาร : 02-591-8276 E-mail : mertthailand@gmail.com, Ieip.dms@gmail.com กรมการแพทย์ 2. นางนริศรา แย้มทรัพย์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906285 โทรศัพท์มือถือ : 081-9883925 โทรสาร : 02-5918276 E-mail : narissara.yamsub@gmail.com กลุ่มฉุกเฉินทางการแพทย์ กรมการแพทย์ 3. นพ.สุนทร ชินประสาทศักดิ์ รองผู้อำนวยการสำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน โทรศัพท์ที่ทำงาน : โทรศัพท์มือถือ : 081-6606069 โทรสาร : Email: soontornchin@gmail.com สำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน 4. นายโสรัจจะ ชูแสง หัวหน้างานบริหารระบบสารสนเทศ โทรศัพท์ที่ทำงาน : โทรศัพท์มือถือ : 081-8271669 โทรสาร : Email : sorajja.c@niems.go.th สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน | 1. พ.ญ.นฤมล สวรรค์ปัญญาเลิศ หัวหน้ากลุ่มฉุกเฉินทางการแพทย์ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906286 โทรศัพท์มือถือ : 081-8424148 โทรสาร : 02-591-8276 E-mail : mertthailand@gmail.com, Ieip.dms@gmail.com กรมการแพทย์ 2. นางนริศรา แย้มทรัพย์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906285 โทรศัพท์มือถือ : 081-9883925 โทรสาร : 02-5918276 E-mail : narissara.yamsub@gmail.com กลุ่มฉุกเฉินทางการแพทย์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข 3. น.พ.รัฐพงษ์ บุรีวงศ์ แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน โทรศัพท์ที่ทำงาน : 035-211888 ต่อ 2103 โทรศัพท์มือถือ : 086-5694886 โทรสาร : 035-242182 E-mail : rattapong.b@gmail.com โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Areabase Kpi Regioncode | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หมายเหตุ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Last Update | 2021-03-24 14:22:39 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Download |