ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System (DHS)ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ
ผลการดำเนินงาน >>ชื่อตัวชี้วัด | ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System (DHS)ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
Child KPI | สร้าง KPI ย่อย | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ปีงบประมาณ | 2560 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ระดับตัวชี้วัด | จังหวัด | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดที่ | 031 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Sort Order | 0 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คำนิยาม | ระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System : DHS) เป็นระบบการทำงานด้านสุขภาพระดับอำเภอร่วมกับทุกภาคส่วน ด้วยการบูรณาการทรัพยากรภายใต้บริบทของพื้นที่ผ่านกระบวนการชื่นชมและการจัดการความรู้ส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนพึ่งตนเองได้ และไม่ทอดทิ้งกัน โดยมีเป้าหมายร่วมเพื่อสุขภาวะของประชาชน ระบบบริการปฐมภูมิ หมายถึง ระบบบริการระดับปฐมภูมิที่มีการให้บริการเป็นแบบผสมผสานองค์รวม และต่อเนื่อง ทั้งบริการเชิงรุกเพื่อสร้างสุขภาพ บริการควบคุมป้องกันโรคและปัญหาที่คุกคามสุขภาพ บริการรักษาพยาบาลและฟื้นฟูสมรรถภาพ สนับสนุนระบบการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว มีระบบการดูแลสุขภาพที่บ้านและที่ชุมชน และเชื่อมโยงกับระบบบริการระดับทุติยภูมิ ตติยภูมิ อย่างเป็นระบบมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ โดยมีประชากรที่เป็นเป้าหมายในการให้บริการ (catchments population) และผู้ให้บริการโดยทีมหมอครอบครัว (Family care team) ชุมชนและท้องถิ่น หมายถึง ประชาชน ครอบครัว หมู่บ้าน องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น องค์กรอิสระ (NGO) ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน คุณภาพ หมายถึง มีผลการดำเนินการ ดังนี้ 1. มีระบบสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS) ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่น ตามองค์ประกอบ UCCARE และมีผลลัพธ์การพัฒนาระบบสุขภาพระดับอำเภอที่สามารถยกระดับขึ้นหนึ่งระดับทุกข้อ หรือตั้งแต่ระดับสามขึ้นไปทุกข้อ ตามแนวทางการพัฒนา DHS – PCA 2. มีการจัดการให้มีการดูแลสุขภาพร่วมกัน เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการ ทั้ง Acute & Chronic care อำเภอ หมายถึง เป็นหน่วยราชการบริหารรองจากจังหวัด มีนายอำเภอเป็นหัวหน้าปกครองและเป็นผู้นำในการทำงานร่วมกับท้องถิ่นและภาคส่วนต่างๆในการดูแลประชาชนและส่งเสริมให้ประชาชนดูแลตนเอง ครอบครัวและชุมชนร่วมกัน โดยใช้ปัญหาความทุกข์ยากของประชาชนในพื้นที่ระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ เป็นเป้าหมายร่วมภายใต้บริบทของแต่ละพื้นที่จำนวน 877 แห่ง (ที่มา : ฐานข้อมูลสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยตัวชี้วัด | ร้อยละ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า A | แห่ง | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า A | จำนวนอำเภอที่มี District Health System ผ่านเกณฑ์คุณภาพ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า B | แห่ง | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า B | จำนวนอำเภอ 877 แห่ง | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า C | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า C | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า D | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า D | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า E | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า E | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า F | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า F | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
สูตรคำนวนตัวชี้วัด | (A/B)*100 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Operator | >= | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เกณฑ์เป้าหมาย | ร้อยละ 95 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย | อำเภอที่มี District Health System | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ค่าเป้าหมาย | 95.00 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Max Value | 100.00 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
วิธีการจัดเก็บข้อมูล | การรายงาน | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
แหล่งข้อมูล | สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด /สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ/โรงพยาบาล | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง | ไม่ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับเขต | ใช่ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด | ไม่ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดสำคัญ | ไม่ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัด Area Base | ไม่ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Tags | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ระยะเวลาการประเมินผล | ไตรมาส 2, 3 และ 4 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ข้อมูล Baseline |
| ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เกณฑ์การประเมินผล | ปี 2560 :
ปี 2561 :
ปี 2562 :
ปี 2563 :
ปี 2564 :
| ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
วิธีการประเมินผล | 1. การประเมินตนเอง (Self- Assessment) โดยใช้แนวทางการพัฒนา DHS – PCA 2. มีแผนการดำเนินงานที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิ รวมถึงการบูรณาการจัดบริการใน 5 กลุ่มวัย และการบูรณาการร่วมกับการพัฒนาระบบบริการ (Service Plan) 3. มีการดำเนินการตามแผน โดยมีระบบบริหารจัดการแก้ปัญหาสุขภาพระดับพื้นที่ โดย การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน อย่างน้อยอำเภอละ 1 เรื่อง , การดูแลระยะยาว (Long term care) การกำหนดจุดเสี่ยงในอำเภอและมีแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุ (RTI) และมีโครงสร้างทีมหมอครอบครัวระดับอำเภอ/ระดับตำบล/ระดับอำเภอ เพื่อดูแลผู้สูงอายุที่ติดเตียง ผู้พิการที่ ต้องได้รับการดูแล ผู้ป่วย palliative care และ เด็กอายุ 0-5 ปี ที่ต้องได้รับการส่งเสริมพัฒนาการ 4. มีการประเมินตามองค์ประกอบ UCCARE และมีผลลัพธ์การพัฒนาระบบสุขภาพระดับ อำเภอที่สามารถยกระดับขึ้นหนึ่งระดับทุกข้อหรือตั้งแต่ระดับสามขึ้นไปทุกข้อ ตาม แนวทางการพัฒนา DHS – PCA โดยผู้เยี่ยมระดับจังหวัด/ระดับเขต (External Audit) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เอกสารสนับสนุน | 1.หนังสือการขับเคลื่อนระบบสุขภาพระดับอำเภอ (รสอ.) ฉบับประเทศไทย 2.หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพระดับอำเภอ (รสอ.) 3.หนังสือทีมหมอครอบครัว (Family Care Team) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด | 1. นพ.ประสิทธิ์ชัย มั่งจิตร รองผู้อำนวยการสำนักบริหารการสาธารณสุข โทรศัพท์ที่ทำงาน : โทรศัพท์มือถือ : 081-9230536 โทรสาร : E-mail : peed.pr@hotmail.com | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง) | สำนักบริหารการสาธารณสุข | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน | 1. นางเกวลิน ชื่นเจริญสุข รองผู้อำนวยการสำนักบริหารการสาธารณสุข โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901643 โทรศัพท์มือถือ : 089-8296254 โทรสาร : E-mail : kavalinc@hotmail.com 2. นางสมสินี เกษมศิลป์ นักวิชาการสาธารณสุข ชำนาญการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : โทรศัพท์มือถือ : 081-7472052 โทรสาร : E-mail : somnee@hotmail.com 3. น.ส.สุประวีณ์ เมฆฉาย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : โทรศัพท์มือถือ : 083-2949022 โทรสาร : E-mail : suprawee1959@gmail.com สำนักบริหารการสาธารณสุข | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Areabase Kpi Regioncode | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หมายเหตุ | เงื่อนไข : จำนวนอำเภอ 877 แห่ง (1.เชียงราย 18 แห่ง, 2.เชียงใหม่ 25 แห่ง, 3.น่าน 15 แห่ง, 4.พะเยา 9 แห่ง, 5.แพร่ 8 แห่ง, 6.แม่ฮ่องสอน 7 แห่ง, 7.ลำปาง 13 แห่ง, 8.ลำพูน 8 แห่ง, 9.ตาก 9 แห่ง, 10.พิษณุโลก 9 แห่ง, 11.เพชรบูรณ์ 11 แห่ง, 12.สุโขทัย 9 แห่ง, 13.อุตรดิตถ์ 9 แห่ง, 14.กำแพงเพชร 11 แห่ง, 15.ชัยนาท 8 แห่ง, 16.นครสวรรค์ 15 แห่ง, 17.พิจิตร 12 แห่ง, 18.อุทัยธานี 8 แห่ง, 19.นครนายก 4 แห่ง, 20.นนทบุรี 6 แห่ง, 21.ปทุมธานี 7 แห่ง, 22.พระนครศรีอยุธยา 16 แห่ง, 23.ลพบุรี 11 แห่ง, 24.สระบุรี 13 แห่ง, 25.สิงห์บุรี 6 แห่ง, 26.อ่างทอง 7 แห่ง, 27.กาญจนบุรี 13 แห่ง, 28.นครปฐม 7 แห่ง, 29.ประจวบคีรีขันธ์ 8 แห่ง, 30.เพชรบุรี 8 แห่ง, 31.ราชบุรี 10 แห่ง, 32.สมุทรสงคราม 3 แห่ง, 33.สมุทรสาคร 3 แห่ง, 34.สุพรรณบุรี 10 แห่ง, 35.จันทบุรี 10 แห่ง, 36.ฉะเชิงเทรา 11 แห่ง, 37.ชลบุรี 10 แห่ง, 38.ตราด 7 แห่ง, 39.ปราจีนบุรี 7 แห่ง, 40.ระยอง 8 แห่ง, 41.สมุทรปราการ 6 แห่ง, 42.สระแก้ว 9 แห่ง, 43.กาฬสินธุ์ 18 แห่ง, 44.ขอนแก่น 26 แห่ง, 45.มหาสารคาม 13 แห่ง, 46.ร้อยเอ็ด 20 แห่ง, 47.นครพนม 12 แห่ง, 48.บึงกาฬ 8 แห่ง, 49.เลย 14 แห่ง, 50.สกลนคร 18 แห่ง, 51.หนองคาย 9 แห่ง, 52.หนองบัวลำภู 6 แห่ง, 53.อุดรธานี 20 แห่ง, 54.ชัยภูมิ 16 แห่ง, 55.นครราชสีมา 32 แห่ง, 56.บุรีรัมย์ 23 แห่ง, 57.สุรินทร์ 17 แห่ง, 58.มุกดาหาร 7 แห่ง, 59.ยโสธร 9 แห่ง, 60.ศรีสะเกษ 22 แห่ง, 61.อำนาจเจริญ 7 แห่ง, 62.อุบลราชธานี 25 แห่ง, 63.กระบี่ 8 แห่ง, 64.ชุมพร 8 แห่ง, 65.นครศรีธรรมราช 23 แห่ง, 66.พังงา 8 แห่ง, 67.ภูเก็ต 3 แห่ง, 68.ระนอง 5 แห่ง, 69.สุราษฎร์ธานี 19 แห่ง, 70.ตรัง 10 แห่ง, 71.นราธิวาส 13 แห่ง, 72.ปัตตานี 12 แห่ง, 73.พัทลุง 11 แห่ง, 74.ยะลา 8 แห่ง, 75.สงขลา 16 แห่ง, 76.สตูล 7 แห่ง) (ที่มา : ฐานข้อมูลสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Last Update | 2021-03-24 14:22:39 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Download |