ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน ระดับ 7
ผลการดำเนินงาน >>ชื่อตัวชี้วัด | ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน ระดับ 7 |
---|---|
Child KPI | สร้าง KPI ย่อย |
ปีงบประมาณ | 2565 |
ระดับตัวชี้วัด | ประเทศ |
ตัวชี้วัดที่ | 073.1 |
Sort Order | - |
คำนิยาม | หน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน หมายถึง หน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่มีวิกฤติทางการเงิน ตามหลักเกณฑ์การคิดวิกฤติทางการเงิน ระดับ 7 (Risk Scoring) โดยใช้อัตราส่วนทางการเงิน 5 รายการวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเงิน อัตราส่วนทางการเงิน 5 รายการ ประกอบด้วย
อัตราส่วนทางการเงินทั้ง 5 รายการข้างต้นถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเงินของหน่วยบริการโยกำหนดเกณฑ์สำหรับการประเมินโดยมีค่ากลางของแต่ละหน่วยบริการมาเปรียบเทียบกับค่ากลางของอุตสาหกรรม ดังนี้ 1. กลุ่มแสดงความคล่องตามสภาพสินทรัพย์
2. กลุ่มแสดงความมั่นคงทางการเงิน 2.1 แสดงฐานะทางการเงิน ทุนหมุนเวียน (NWC) < 0 2.2 แสดงฐานะจากผลประกอบการ (กำไรสุทธิ) (กำไรสุทธิรวมค่าเสื่อมราคา และค่าตัดหน่าย Net Income NI) NI < 0 3. กลุ่มแสดงระยะเวลาเข้าสู่ปัญหาการเงินรุนแรง 3.1 NWC/ANI ระยะเวลาทุนหมุนเวียนหมด < 3 เดือน* 3.1 NWC/ANI ระยะเวลาทุนหมุนเวียนหมด < 6 เดือน *โดยให้น้ำหนักของ NWC/ANI ระยะเวลาทุนหมุนเวียนหมด < 3 เดือน มากกว่าตัวแปรอื่น นหมด ปัญหาการเงินรุนแรง 2 เท่า ทั้งนี้สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้นำเงื่อนไขดังตาราง 4 มาใช้ในการจัดกลุ่มโรงพยาบาลที่ประสบวิกฤตทางการเงินเป็น 7 ระดับ ดังนี้ ระดับ 0-1 ปกติ ระดับ 2 คาดว่าจะดีขึ้นภายใน 3 เดือน ระดับ 3 คาดว่าจะดีขึ้นภายหลัง 3 เดือน ระดับ 4 คาดว่าจะประสบปัญหาภายหลัง 6 เดือน ระดับ 5 คาดว่าจะประสบปัญหาภายใน 6 เดือน ระดับ 6 คาดว่าจะประสบปัญหาภายใน 3 เดือน ระดับ 7 มีภาวะวิกฤตทางการเงินขั้นรุนแรง การประเมินหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินจะประเมินทุกสิ้น ไตรมาส โดยกำหนดให้หน่วยบริการที่ได้ระดับ 7 ซึ่งมีภาวะวิกฤตทางการเงินขั้นรุนแรง และระดับ 6 ที่คาดว่าจะประสบปัญหาภายใน 3 เดือน ทั้งนี้ ระบบข้อมูลบัญชีของหน่วยบริการที่ดีมีคุณภาพมีส่วนสำคัญที่ทำให้ผลการประเมินสถานะทางการเงินที่มีความถูต้อง แม่นยำ และการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพจะช่วยแก้ไขปัญหาภาวะวิกฤตทางการเงินที่เกิดขึ้นได้ การขับเคลื่อนการเงินการคลังปี 2565
มาตรการที่ 1 : พัฒนาระบบบัญชีบริหาร (Accounting ) มาตรการที่ 2 : การจัดสรรเงินอย่างเพียงพอ (Budgeting) มาตรการที่ 3 : พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการเงินการคลัง ด้านเศรษฐกิจ สุขภาพ และด้านหลักประกันสุขภาพ (Competency) มาตรการที่ 4 : เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารด้านการเงินการคลัง (Division มาตรการที่ 5 : ติดตาม กำกับ เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพทางการเงิน วางระบบเฝ้าระวัง (Efficiency)
|
หน่วยตัวชี้วัด | ร้อยละ |
หน่วยของค่า A | แห่ง |
นิยามของค่า A | จำนวนหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน ระดับ 7 |
หน่วยของค่า B | แห่ง |
นิยามของค่า B | จำนวนหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขทั้งหมด (หน่วยบริการที่จัดส่งรายงานงบทดลอง) |
หน่วยของค่า C | |
นิยามของค่า C | |
หน่วยของค่า D | |
นิยามของค่า D | |
หน่วยของค่า E | |
นิยามของค่า E | |
หน่วยของค่า F | |
นิยามของค่า F | |
สูตรคำนวนตัวชี้วัด | (A/B)*100 |
Operator | <= |
เกณฑ์เป้าหมาย | ระดับ 7 <= ร้อยละ 2 |
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย | หน่วยบริการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข |
ค่าเป้าหมาย | 2.00 |
Max Value | 2.00 |
วิธีการจัดเก็บข้อมูล | |
แหล่งข้อมูล | |
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง | - |
ตัวชี้วัดระดับเขต | - |
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด | - |
ตัวชี้วัดสำคัญ | - |
ตัวชี้วัด Area Base | - |
Tags | |
ระยะเวลาการประเมินผล | รายไตรมาส |
ข้อมูล Baseline | |
เกณฑ์การประเมินผล | |
วิธีการประเมินผล | |
เอกสารสนับสนุน | |
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด | |
หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง) | |
ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน | |
รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base | 0 |
Areabase Kpi Regioncode | 0 |
หมายเหตุ | |
Last Update | 2022-11-21 09:45:11 |
Download |