ร้อยละของบุคลากรที่มีความพร้อมรองรับการเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้นได้รับการพัฒนา
ผลการดำเนินงาน >>ชื่อตัวชี้วัด | ร้อยละของบุคลากรที่มีความพร้อมรองรับการเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้นได้รับการพัฒนา |
---|---|
Child KPI | สร้าง KPI ย่อย |
ปีงบประมาณ | 2565 |
ระดับตัวชี้วัด | ประเทศ |
ตัวชี้วัดที่ | 059 |
Sort Order | - |
คำนิยาม |
1) รองผู้อำนวยการ 2) หัวหน้ากลุ่มงาน/ฝ่าย/ศูนย์ 3) หัวหน้าพยาบาล 4) ผู้อำนวยการโรงพยาบาลชุมชน 5) สาธารณสุขอำเภอ 6) ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอ 7) ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมตำบล/ผู้อำนวยการสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 2.ตำแหน่งว่าง หมายถึง ตำแหน่งว่างตามข้อ 1 จากการเกษียณอายุราชการในปีงบประมาณถัดไป โดยไม่รวมตำแหน่งว่างระหว่างปี เช่น เสียชีวิต ลาออก และตำแหน่งว่างจากสาเหตุการโอนไปส่วนราชการอื่น ฯลฯ 3.บุคลากรที่มีความพร้อม หมายถึง บุคลากรประเภทข้าราชการที่มีคุณสมบัติ และ/หรือมีความพร้อมเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น 4.สมรรถนะตามตำแหน่งที่สูงขึ้น หมายถึง สมรรถนะทางการบริหารที่ ก.พ. กำหนดดังนี้ 1) สภาวะผู้นำ (Leadership) 2) วิสัยทัศน์ (Visioning) 3) การวางกลยุทธ์ภาครัฐ (Strategic Orientation) 4) ศักยภาพเพื่อนำการปรับเปลี่ยน (Change Leadership) 5) การควบคุมตนเอง (Self-Control) 6) การสอนงานและการมอบหมายงาน (Coaching and Empowering Others) 5. การพัฒนา หมายถึง กระบวนการที่มุ่งจะเปลี่ยนแปลงวิธีการทำงาน ความรู้ความสามารถ ทักษะและทัศนคติของบุคลากรให้เป็นไปทางที่ดีขึ้น เพื่อให้บุคลากรที่ได้รับการพัฒนาสามารถปฏิบัติงานได้ผลตามวัตถุประสงค์ของหน่วยงานอย่างมีประสิทธิภาพ ตามแนวทางหรือหลักสูตรที่สอดคล้องกับสมรรถนะทางการบริหารที่ ก.พ. กำหนด เช่น 1) การอบรม/สัมมนา โดยกองบริหารทรัพยากรบุคคล 2) การจัดส่งบุคลากร ไปอบรม/สัมมนา/ศึกษาต่อ กับหน่วยงานภายนอก 3) การฝึกอบรมโดยผ่านระบบ E-learning ฯลฯ เป็นต้น 6. บุคลากรที่ผ่านการพัฒนา หมายถึง บุคลากรที่ผ่านการพัฒนา ตามหลักเกณฑ์ที่หลักสูตรได้กำหนด เช่น การฝึก/อบรมครบตามหลักสูตร การสอบผ่านเกณฑ์ การได้รับใบประกาศนียบัตร ฯลฯ เป็นต้น 7. จำนวนของบุคลากรที่ต้องได้รับการพัฒนา หมายถึง จำนวนบุคลากรสองเท่าของตำแหน่งว่างตามข้อ 2 8. ร้อยละของบุคลากรที่มีความพร้อมรองรับการเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้นได้รับการพัฒนา หมายถึง จำนวนบุคลากรที่ผ่านการพัฒนาเพื่อรองรับการเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น เทียบกับจำนวนของบุคลากรที่ต้องได้รับการพัฒนา |
หน่วยตัวชี้วัด | ร้อยละ |
หน่วยของค่า A | คน |
นิยามของค่า A | จำนวนบุคลากรที่ผ่านการพัฒนาเพื่อรองรับการเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น ณ วันที่รายงานผล |
หน่วยของค่า B | คน |
นิยามของค่า B | จำนวนของบุคลากรที่ต้องได้รับการพัฒนา ณ วันที่รายงานผล |
หน่วยของค่า C | |
นิยามของค่า C | |
หน่วยของค่า D | |
นิยามของค่า D | |
หน่วยของค่า E | |
นิยามของค่า E | |
หน่วยของค่า F | |
นิยามของค่า F | |
สูตรคำนวนตัวชี้วัด | (A/B)x100 |
Operator | >= |
เกณฑ์เป้าหมาย | ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย | 1. บุคลากรที่มีคุณสมบัติ/ความพร้อมเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น 2. กรมทุกกรมในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข |
ค่าเป้าหมาย | 80.00 |
Max Value | 100.00 |
วิธีการจัดเก็บข้อมูล | |
แหล่งข้อมูล | |
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง | - |
ตัวชี้วัดระดับเขต | - |
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด | - |
ตัวชี้วัดสำคัญ | - |
ตัวชี้วัด Area Base | - |
Tags | |
ระยะเวลาการประเมินผล | รายไตรมาส |
ข้อมูล Baseline | |
เกณฑ์การประเมินผล | |
วิธีการประเมินผล | |
เอกสารสนับสนุน | |
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด | |
หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง) | |
ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน | |
รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base | 0 |
Areabase Kpi Regioncode | 0 |
หมายเหตุ | |
Last Update | 2022-10-12 14:20:41 |
Download |