เกิดการบาดเจ็บ CBD injury หรือเกิด massive bleeding ซึ่งต้องให้เลือด 2 ยูนิต ขึ้นไประหว่างผ่าตัดหรือ hollow viscus organ injury

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดเกิดการบาดเจ็บ CBD injury หรือเกิด massive bleeding ซึ่งต้องให้เลือด 2 ยูนิต ขึ้นไประหว่างผ่าตัดหรือ hollow viscus organ injury
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2564
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่048.1
Sort Order-
คำนิยาม

การผ่าตัดแผลเล็ก (Minimally Invasive Surgery : MIS) หมายถึง การผ่าตัดเพื่อทำการรักษาโรคและอาการเจ็บป่วยโดยบาดแผลที่เกิดจากการผ่าตัดนั้นมีขนาดเล็ก (อาจมีมากกว่า 1 แผล) แพทย์ผู้ทำการผ่าตัดจะใช้อุปกรณ์ที่มีลักษณะเป็นท่อสอดเข้าไปในร่างกายเพื่อทำการผ่าตัด โดยใช้ภาพมุมมองจากกล้องวีดิทัศน์ที่ติดไว้กับอุปกรณ์ผ่านจอภาพ เมื่อทำการผ่าตัดเสร็จแล้วจึงทำการเย็บปิดรอยแผลที่เกิดขึ้น ตามรายการหัตถการแนบท้ายการรักษาการผ่าตัดแผลเล็ก (Minimally Invasive Surgery : MIS) (ICD-9-CM Procedures) ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ดังนี้

กรณี

กลุ่ม DRGs

รหัสโรค (ICD-10 2010) และหรือรหัสหัตถการ (ICD-9-CM 2010)

โรคนิ่วในถุงน้ำดี

และหรือถุงน้ำดีอักเสบ

07090  Laparoscopic cholecystectomy w closed CDE, no CC

 

ICD10 :

K80K8Cholelithiasis

K80.0 Calculus of gallbladder with acute cholecystitis

K80.1 Calculus of gallbladder with other cholecystitis

K80.2 Calculus of gallbladder without cholecystitis

K80.3 Calculus of bile duct with cholangitis

K80.4 Calculus of bile duct with cholecystitis

K80.5 Calculus of bile duct without cholangitis or cholecystitis

K80.8 Other cholelithiasis

K81   Cholecystitis

K81.0 Acute cholecystitis

K81.1 Chronic cholecystitis

K81.8 Other cholecystitis

K81.9 Cholecystitis, unspecified

ICD9 :

-

07100  Laparoscopic cholecystectomy, no CC

 

 

 

อุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อน หมายถึง

กรณีที่ 1 เกิดการบาดเจ็บ CBD injury หรือเกิด massive bleeding ซึ่งต้องให้เลือด 2 ยูนิต ขึ้นไประหว่างผ่าตัดหรือ hollow viscus organ injury < ร้อยละ 1

กรณีที่ 2 Re-admit ภายใน 1 เดือน (ที่เกี่ยวกับการผ่าตัด เช่น delay detect CBD injury หรือ delay detect hollow viscus organ injury หรือ surgical site infection: SSI) < ร้อยละ 5

 
หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aราย
นิยามของค่า Aจำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีหรือถุงน้ำดีอักเสบผ่านการผ่าตัดแผลเล็ก (Minimally Invasive Surgery : MIS) และเกิดภาวะแทรกซ้อน
หน่วยของค่า Bราย
นิยามของค่า Bจำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีหรือถุงน้ำดีอักเสบผ่านการผ่าตัดแผลเล็ก (Minimally Invasive Surgery : MIS) ทั้งหมด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator<
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 1
ประชากรกลุ่มเป้าหมายผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีหรือถุงน้ำดีอักเสบผ่านการผ่าตัดแผลเล็ก (Minimally Invasive Surgery : MIS) หมายเหตุ:ข้อมูลจากโรงพยาบาลระดับ M1 ขึ้นไปหรือโรงพยาบาลที่ได้ขึ้นทะเบียนผ่านการประเมิน MIS จากกรมการแพทย์
ค่าเป้าหมาย1.00
Max Value1.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

หน่วยบริการบันทึกข้อมูลผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัด ผ่านระบบ Minimally Invasive Surgery Registry

แหล่งข้อมูล

ระบบ Minimally Invasive Surgery Registry

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลรายไตรมาส
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2561

2562

2563

-

ร้อยละ

-

-

-

 
เกณฑ์การประเมินผล

เกณฑ์การประเมิน

ปี2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

< ร้อยละ 1

< ร้อยละ 1

< ร้อยละ 1

< ร้อยละ 1

 

 

 

ปี 2565:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

< ร้อยละ 1

< ร้อยละ 1

< ร้อยละ 1

< ร้อยละ 1

 

 

 

ปี 2566:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

< ร้อยละ 1

< ร้อยละ 1

< ร้อยละ 1

< ร้อยละ 1

 

 
วิธีการประเมินผล

วิเคราะห์ข้อมูลผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัด ผ่านระบบ Minimally Invasive Surgery Registry

เอกสารสนับสนุน

1. คู่มือข้อเสนอแนะด้านการพัฒนาระบบบริการการผ่าตัดแผลเล็ก ปี 2563

2. คู่มือมาตรฐานความปลอดภัยของผู้ป่วย (Patient Safety)

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นพ.กิตติวัฒน์ มะโนจันทร์                 ผู้อำนวยการกองวิชาการแพทย์

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6283          โทรศัพท์มือถือ : 08 2649 4884

โทรสาร : 0 2591 8264                     E-mail: kityimpan@gmail.com

กองวิชาการแพทย์ กรมการแพทย์

2. นพ.ทวีชัย วิษณุโยธิน                      นายแพทย์เชี่ยวชาญ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 4423 5000          โทรศัพท์มือถือ : 08 1967 4148

E-mail: eva634752@gmail.com

โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

3. นพ.วิบูลย์ ภัณฑบดีกรณ์                  นายแพทย์เชี่ยวชาญ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 3458 7800          โทรศัพท์มือถือ : 08 1941 7746

E-mail: wibunphantha@yahoo.co.th

โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. นางจุฬารักษ์ สิงหกลางพล      หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนานโยบายวิชาการแพทย์

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6285          โทรศัพท์มือถือ : 08 1355 4866

โทรสาร : 0 2591 8276                     E-mail: klangpol@yahoo.com

กองวิชาการแพทย์ กรมการแพทย์

2. นางสาวปรียานุช  เรืองงาม               นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ 

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6285          โทรศัพท์มือถือ : 08 6375 0869

โทรสาร : 0 2591 8276                     E-mail: mai_preeyanut@hotmail.com

กองวิชาการแพทย์ กรมการแพทย์

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางจุฬารักษ์ สิงหกลางพล      หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนานโยบายวิชาการแพทย์

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6285          โทรศัพท์มือถือ : 08 1355 4866

โทรสาร : 0 2591 8276                     E-mail: klangpol@yahoo.com

กองวิชาการแพทย์ กรมการแพทย์

2. นางสาวปรียานุช  เรืองงาม               นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ 

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6285          โทรศัพท์มือถือ : 08 6375 0869

โทรสาร : 0 2591 8276                     E-mail: mai_preeyanut@hotmail.com

กองวิชาการแพทย์ กรมการแพทย์

3. นายปวิช อภิปาลกุล                       นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6350          โทรศัพท์มือถือ : 09 8546 3564

โทรสาร : 0 2591 8279                     E-mail: eva634752@gmail.com

กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กรมการแพทย์

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-01-22 22:45:50
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>