ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2564
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่062
Sort Order0
คำนิยาม

     การประเมิน ITA หมายถึง เครื่องมือการประเมินเชิงบวกเพื่อเป็นมาตรการป้องกัน
การทุจริต และเป็นกลไกในการสร้างความตระหนักให้หน่วยงานภาครัฐมีการดำเนินงานอย่างโปร่งใสและมีคุณธรรม ที่เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 23 มกราคม 2561
ที่เห็นชอบให้หน่วยงานภาครัฐเข้าร่วมการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส

ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-2564 โดยใช้แนวทางและเครื่องมือการประเมินตามที่สำนักงาน ป.ป.ช. กำหนด ออกแบบการขับเคลื่อนภายใต้แนวคิด Open to Transparency ซึ่งเป็นหลักการพื้นฐานสำคัญของการประเมิน ITA ที่มาจากการเปิดเผยข้อมูลของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขให้สาธารณชนรับทราบและสามารถตรวจสอบการดำเนินงานได้ และเปิดโอกาสการมีส่วนร่วมของ

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้รับบริการ และประชาชน ตามภารกิจของหน่วยงานในสังกัด กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งการเปิดทั้ง 2 ประการ จะช่วยส่งเสริมให้หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีความโปร่งใสไปสู่การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบของทุกหน่วยงาน

     1.  แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการประเมิน ประกอบด้วย 3 แหล่งข้อมูล ดังนี้

         1.1 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน หมายถึง บุคลากรของแต่ละหน่วยงานในสังกัด กระทรวงสาธารณสุข ตั้งแต่ระดับผู้บริหาร ผู้อำนวยการ / หัวหน้า เจ้าหน้าที่ของรัฐ

ที่ทำงานมาเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี

         1.2 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก หมายถึง บุคคล นิติบุคคล บริษัทเอกชน

หรือหน่วยงานของรัฐอื่นที่เคยมารับบริการ หรือมาติดต่อตามภารกิจของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข นับตั้งแต่ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

         1.3 เว็บไซต์ หมายถึง เว็บไซต์หลักของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

ที่ใช้ในการสื่อสารตี่อสาธารณะ

     2.  เครื่องมือในการประเมิน ประกอบด้วย 3 เครื่องมือ

         2.1 แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (Internal Integrity and Transparency Assessment : IIT)

         2.2 แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment : EIT)

         2.3 แบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment : OIT)

     3.  การเก็บรวบรวมข้อมูล

         3.1 แบบ IIT หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เก็บรวบรวมข้อมูลในระบบ ITAS ของสำนักงาน ป.ป.ช.

         3.2 แบบ EIT หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เก็บรวบรวมข้อมูลนะบบ ITAS ของสำนักงาน ป.ป.ช.

         3.3 แบบ OIT หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ตอบคำถามลงในระบบ ITAS ของสำนักงาน ป.ป.ช.

     สำนักงาน ป.ป.ช. และคณะที่ปรึกษาการประเมิน ITA ดำเนินการตรวจและให้คะแนน ประมวลผลคะแนน วิเคราะห์ผลและให้ข้อเสนอแนะ ประกาศผลการประเมินในเดือนกันยายน 2564

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aหน่วยงาน
นิยามของค่า Aจำนวนหน่วยงานที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 85 (ใน 1 ปี) (จัดเก็บข้อมูลจากหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขกลุ่มเป้าหมายที่มีคะแนน ไม่น้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 85)
หน่วยของค่า Bหน่วยงาน
นิยามของค่า Bจำนวนหน่วยงานทั้งหมดที่เข้ารับการประเมิน ITA (17 หน่วยงาน)
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัดAx100/ B
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 92
ประชากรกลุ่มเป้าหมายรวมทั้งสิ้น จำนวน 17 หน่วยงาน จำแนกเป็น 1. ส่วนราชการระดับกรม จำนวน 10 หน่วยงาน 2. หน่วยงานของรัฐในกำกับของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 4 หน่วยงาน 3. องค์การมหาชน จำนวน 2 หน่วยงาน 4. รัฐวิสาหกิจ จำนวน 1 หน่วยงาน
ค่าเป้าหมาย92.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ประชากรกลุ่มเป้าหมาย 17 หน่วยงาน จัดเก็บข้อมูลตามเครื่องมือในการประเมิน 3 เครื่องมือ 3 แหล่งข้อมูล เป็นไปตามปฏิทินการประเมินของสำนักงาน ป.ป.ช.

ไตรมาสที่ 1                             ไตรมาสที่ 2                                   ไตรมาสที่ 3                                                             ไตรมาสที่ 4

    -                                              -                                - ลงทะเบียนเข้าใช้งานในระบบ ITAS                                   - สำนักงาน ป.ป.ช.และคณะที่ปรึกษา ดำเนินการตรวจและให้คะแนน                                                                                                                                                                                       ประมวลผล  

                                                                                   - นำเข้าข้อมูล IIT EIT และ OIT ในระบบ ITAS                      - สำนักงาน ป.ป.ช. ประกาศผลคะแนน ITA(เดือนกันยายน 2564)

                                                                                                                                                                            .- ศปท. สธ. รายงานผลคะแนนในระบบ Health KPI ประจำปีงบประมาณ                                                                                                                                                                                 พ.ศ. 2564

 

แหล่งข้อมูล

1. แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (Internal Integrity and Transparency Assessment : IIT)

2. แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment : EIT)

3. แบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment : OIT)

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาสที่ 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2561

2562

2563

ร้อยละ

ของหน่วยงาน

ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

ผ่านเกณฑ์

การประเมิน ITA

ร้อยละ

81.25

 

 

(16 หน่วยงาน)

 

 

87.5

 

 

(16 หน่วยงาน)

 

88.24

 

 

(17 หน่วยงาน)

 

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2560:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

-

-

-

85

 

 

 

ปี 2561:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

-

-

85

 

 

 

ปี 2562:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

-

-

85

 

 

 

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

-

-

85

 

 

 

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

-

-

92

วิธีการประเมินผล

1. ประชากรกลุ่มเป้าหมาย จัดเก็บข้อมูลตามเครื่องมือในการประเมิน 3 เครื่องมือ ประกอบด้วย แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (Internal Integrity and Transparency Assessment : IIT) แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment : EIT) และแบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment : OIT) ตามปฏิทินการประเมินของสำนักงาน ป.ป.ช.ในระบบ ITAS ไตรมาสที่ 3

2. สำนักงาน ป.ป.ช. และคณะที่ปรึกษา ดำเนินการตรวจและให้คะแนน ประมวลผลคะแนน วิเคราะห์ผลและให้ข้อเสนอแนะ ช่วงเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม 2564

3 สำนักงาน ป.ป.ช. ประกาศผลคะแนน ITA ในเดือนกันยายน 2564)

4. ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข รายงานในระบบ Health KPI ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ในไตรมาสที่ 4

เอกสารสนับสนุน

1. แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (Internal Integrity and Transparency Assessment : IIT)

2. แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment : EIT)

3. แบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment : OIT)

4. ระบบ ITAS (Integrity and Transparency Assessment System)

5. คู่มือการประเมิน ITA ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสำนักงาน ป.ป.ช.

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

นางสาวสุชาฎา วรินทร์เวช         นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ

โทรศัพท์ : 0 2590 1866          โทรศัพท์มือถือ : 08 1931 5388

โทรสาร : 02 590 1330           E-Mail : pankung08@gmail.com

สถานที่ทำงาน ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

นางสาวทิพยวรรณ  ภูสิงห์ทอง     นักวิเคราะห์นโยบายและแผน

โทรศัพท์ : 0 2590 1330           โทรศัพท์มือถือ : 08 9928 3357

โทรสาร : 02 590 1330           E-mail : mophita2558@gmail.com

สถานที่ทำงาน ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

นางสาวทิพยวรรณ  ภูสิงห์ทอง     นักวิเคราะห์นโยบายและแผน

โทรศัพท์ : 0 2590 1330           โทรศัพท์มือถือ : 08 9928 3357

โทรสาร : 02 590 1330           E-mail : mophita2558@gmail.com

สถานที่ทำงาน ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-08-26 15:54:08
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>