อัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ได้รับมาตรฐานการท่องเที่ยว

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดอัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ได้รับมาตรฐานการท่องเที่ยว
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2564
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่054
Sort Order-
คำนิยาม

สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ หมายถึง สถานที่ที่ตั้งขึ้นเพื่อดำเนินกิจการตามพระราชบัญญัติ พ.ศ.2559 ดังต่อไปนี้

          กิจการสปา อันได้แก่ บริการที่เกี่ยวกับการดูแลและเสริมสร้างสุขภาพโดยวิธีการบำบัดด้วยน้ำและการนวดร่างกายเป็นหลัก ประกอบกับบริการอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอีกอย่างน้อยสามอย่าง เว้นแต่เป็นการดำเนินการในสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลหรือการอาบน้ำ นวดหรืออบตัวที่เป็นการให้บริการในสถานอาบน้ำ นวดหรืออบตัวตามกฎหมายว่าด้วยสถานบริการ

          กิจการนวดเพื่อสุขภาพหรือเพื่อเสริมความงาม ยกเว้นการนวดเพื่อสุขภาพหรือเพื่อเสริมความงามในสถานพยาบาลเอกชน/หน่วยงานสาธารณสุขของหน่วยงานภาครัฐ และการนวด/การอบตัวที่เป็นบริการในสถานอาบน้ำตามกฎหมายว่าด้วยสถานบริการ  

มาตรฐานการท่องเที่ยว หมายถึง มาตรฐานการให้บริการสถานประกอบการเพื่อสุขภาพตามพระราชบัญญัติสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ พ.ศ. 2559 และมีมาตรฐานการให้บริการตามวิถีความปกติใหม่ (new normal) ได้แก่ การเว้นระยะห่าง การล้างมือก่อนและหลังการให้บริการ การสวมหน้ากากอนามัย ขณะให้บริการ เป็นต้น เพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้รับบริการในจังหวัดท่องเที่ยวเป้าหมายเพื่อรองรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

อัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนสถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่ได้รับมาตรฐานการท่องเที่ยว หมายถึง อัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนสถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่ได้รับการส่งเสริมพัฒนา สนับสนุนทั้งในด้านข้อมูลข่าวสาร เอกสาร หรือการอบรม/ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาให้มีคุณภาพมาตรฐานเพื่อสามารถยื่นขอเปิดกิจการตามที่กฎหมายกำหนดและมีมาตรฐานการท่องเที่ยวตามวิถีความปกติใหม่ (new normal) ทั้งนี้การเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 คิดจากจำนวนสถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่เปิดให้บริการตามมาตรการผ่อนปรนในช่วงที่มีการระบาดของโรคโควิด 19 ในปี 2563 

ผ่านเกณฑ์มาตรฐานท่องเที่ยว หมายถึง สถานประกอบการในจังหวัดท่องเที่ยวเป้าหมายที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด และมีมาตรฐานการให้บริการตามวิถีความปกติใหม่

(new normal) เพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้รับบริการ

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aแห่ง
นิยามของค่า Aจำนวนที่เพิ่มขึ้นของสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ที่ได้มาตรฐานท่องเที่ยวในพื้นที่ท่องเที่ยวเป้าหมาย ในปีงบประมาณ 2564
หน่วยของค่า Bแห่ง
นิยามของค่า Bจำนวนสถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่เปิดให้บริการตามมาตรการผ่อนปรนในช่วงที่มีการระบาดของโรคโควิด 19 ในปีงบประมาณ 2563 (จำนวน 526 แห่ง)
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B) x 100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายเพิ่มขึ้นร้อยละ 5
ประชากรกลุ่มเป้าหมายสถานประกอบการเพื่อสุขภาพในพื้นที่ท่องเที่ยวเป้าหมาย มีจำนวน 5 จังหวัด ซึ่งเป็นสถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่เปิดให้บริการตามมาตรการผ่อนปรนในช่วงที่มีการระบาดของโรคโควิด 19 ในพื้นที่ท่องเที่ยวเป้าหมาย จำนวน 5 จังหวัด รวม 526 แห่ง ดังนี้ 1) ภูเก็ต มีจำนวนสถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่เปิดให้บริการตามมาตรการผ่อนปรนในช่วงที่มีการระบาดของโรคโควิด 19 จำนวน 80 แห่ง 2) ชลบุรี มีจำนวนสถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่เปิดให้บริการตามมาตรการผ่อนปรนในช่วงที่มีการระบาดของโรคโควิด 19 จำนวน 204 แห่ง 3) สุราษฎร์ธานี มีจำนวนสถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่เปิดให้บริการตามมาตรการผ่อนปรนในช่วงที่มีการระบาดของโรคโควิด 19 จำนวน 138 แห่ง 4) เชียงราย มีจำนวนสถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่เปิดให้บริการตามมาตรการผ่อนปรนในช่วงที่มีการระบาดของโรคโควิด 19 จำนวน 50 แห่ง 5) บุรีรัมย์ มีจำนวนสถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่เปิดให้บริการตามมาตรการผ่อนปรนในช่วงที่มีการระบาดของโรคโควิด 19 จำนวน 54 แห่ง อัตราการเพิ่มขึ้นของสถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่ได้รับมาตรฐานการท่องเที่ยว ในพื้นที่ท่องเที่ยวเป้าหมาย จำนวน 5 จังหวัด เพิ่มขึ้น ร้อยละ 5 โดยประเมินผลการดำเนินงานในภาพรวม คิดเป็นจำนวนในปี 2564 เท่ากับ 27 แห่ง
ค่าเป้าหมาย5.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

แบบรายงานผลการดำเนินงาน และรายงานผ่าน ฐานข้อมูลระบบสารสนเทศกองสถานประกอบการเพื่อสุขภาพhttp://spa.hss.moph.go.th

แหล่งข้อมูล

1. กองสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ

2. ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเขต 1 – 12

3. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัด

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 1-4
ข้อมูล Baseline

Baseline

 Data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2561

2562

2563

-

-

-

-

-

หมายเหตุ : เป็นตัวชี้วัดใหม่ปี 2564 ไม่มีข้อมูลพื้นฐานเดิม

เกณฑ์การประเมินผล

 

 

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9  เดือน

รอบ 12 เดือน

-กำหนดหลักเกณฑ์การประเมิน

-ส่งเสริมพัฒนา

ตามเกณฑ์

ร้อยละ 3

ร้อยละ 4

ร้อยละ 5

 

 

 

 

 

 

หมายเหตุ : เป็นตัวชี้วัดใหม่ปี 2564 ไม่มีเกณฑ์การประเมินเดิม/เก็บข้อมูลการดำเนินงานแบบสะสม

วิธีการประเมินผล

ประเมินโดยใช้เกณฑ์มาตรฐานตามที่กำหนด

เอกสารสนับสนุน

1. คู่มือแนวทางการดำเนินงานสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ

2. พระราชบัญญัติสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ พ.ศ.2559

3. หนังสือเอกสารความรู้ผู้ดำเนินการสปา

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

ชื่อ-นามสกุล นางสาวเปรมปวีร์   บุณยาพรทรัพย์  ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน 02-1495642              โทรศัพท์มือถือ 063-8458287

โทรสาร 02-1495642                         อีเมล planspa2019@gmail.com

สถานที่ทำงาน กองสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

ชื่อ-นามสกุล นางสาวเปรมปวีร์   บุณยาพรทรัพย์  ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน 02-1495642              โทรศัพท์มือถือ 063-8458287

โทรสาร 02-1495642                         อีเมล planspa2019@gmail.com

สถานที่ทำงาน กองสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

ชื่อ-นามสกุล นางสาวสุวภรณ์  แนวจำปา           

ตำแหน่ง ผู้อำนวยการกองสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ

โทรศัพท์ที่ทำงาน 02-1495642              โทรศัพท์มือถือ 087-9794664    

โทรสาร 02-1495642                         อีเมล suwa_porn@yahoo.com

สถานที่ทำงาน กองสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-10-15 16:39:52
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>