ทุกโรงพยาบาลระดับ A และ S มีการจัดทำแผนและซ้อมแผน BCP for EID
ผลการดำเนินงาน >>ชื่อตัวชี้วัด | ทุกโรงพยาบาลระดับ A และ S มีการจัดทำแผนและซ้อมแผน BCP for EID | ||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
Child KPI | สร้าง KPI ย่อย | ||||||||||||||||||
ปีงบประมาณ | 2564 | ||||||||||||||||||
ระดับตัวชี้วัด | ประเทศ | ||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดที่ | 029 | ||||||||||||||||||
Sort Order | - | ||||||||||||||||||
คำนิยาม | แนวทางการแพทย์วิถีใหม่ (New Normal Medical care) หมายถึง แนวทาง 1. การให้บริการตามแนวปฏิบัติการแพทย์วิถีใหม่ (New Normal Medical Services) ตาม Key Step Assessment (Staff, Structure, System) 2. การบริหารความต่อเนื่องของการดำเนินการสถานพยาบาล (Business continuity management: BCM) โดยนำแผนดำเนินกิจการอย่างต่อเนื่อง การบริหารความต่อเนื่องของการดำเนินการสถานพยาบาล (Business continuity management: BCM) หมายถึง กระบวนการบริหารงานหรือภารกิจบริการของสถานพยาบาลแบบองค์รวม ซึ่งระบุภัยคุกคามและผลกระทบจากสภาวะวิกฤติของโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ เพื่อวางแนวทางในการสร้างขีดความสามารถให้องค์กรมีความยืดหยุ่นปรับตัวต่อเหตุการณ์ได้ แผนดำเนินกิจการอย่างต่อเนื่องสำหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤติจากโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ในสถานพยาบาล (Business Continuity Plan(BCP) for EIDs in Healthcare Facilities) หมายถึง เอกสารขั้นตอนการดำเนินงานที่ให้แนวทางแก่สถานพยาบาลในการตอบสนอง การฟื้นฟูและการกลับมาดำเนินการ เพื่อให้สามารถคงภารกิจของสถานพยาบาลต่อประชาชนได้ในระดับที่กำหนดไว้ หลังเกิดวิกฤติจากโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ และมีการซ้อมแผน | ||||||||||||||||||
หน่วยตัวชี้วัด | ร้อยละ | ||||||||||||||||||
หน่วยของค่า A | แห่ง | ||||||||||||||||||
นิยามของค่า A | จำนวนโรงพยาบาลระดับ A และ S ในเขตสุขภาพที่มีแผนดำเนินกิจการ อย่างต่อเนื่องสำหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤติจากโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ (BCP for EIDs in Healthcare Facilities) | ||||||||||||||||||
หน่วยของค่า B | แห่ง | ||||||||||||||||||
นิยามของค่า B | จำนวนโรงพยาบาลระดับ A และ S ในเขตสุขภาพ | ||||||||||||||||||
หน่วยของค่า C | |||||||||||||||||||
นิยามของค่า C | |||||||||||||||||||
หน่วยของค่า D | |||||||||||||||||||
นิยามของค่า D | |||||||||||||||||||
หน่วยของค่า E | |||||||||||||||||||
นิยามของค่า E | |||||||||||||||||||
หน่วยของค่า F | |||||||||||||||||||
นิยามของค่า F | |||||||||||||||||||
สูตรคำนวนตัวชี้วัด | (A/B)*100 | ||||||||||||||||||
Operator | = | ||||||||||||||||||
เกณฑ์เป้าหมาย | ร้อยละ100 | ||||||||||||||||||
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย | โรงพยาบาลระดับ A (โรงพยาบาลศูนย์) และโรงพยาบาลระดับ S (โรงพยาบาลทั่วไปขนาดใหญ่) ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่ปรากฎในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ทรัพยากรสุขภาพ | ||||||||||||||||||
ค่าเป้าหมาย | 100.00 | ||||||||||||||||||
Max Value | 100.00 | ||||||||||||||||||
วิธีการจัดเก็บข้อมูล | การรวบรวมและวิเคราะห์ในระดับเขตสุขภาพที่ 1 – 12 โดย โรงพยาบาลระดับ A และ S ในเขตสุขภาพ รายงานผลการดำเนินการตามแผน BCP for EIDs และมีการซ้อมแผน | ||||||||||||||||||
แหล่งข้อมูล | ข้อมูลจากการรวบรวมและวิเคราะห์ในระดับเขตสุขภาพที่ 1 – 12 | ||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง | - | ||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับเขต | - | ||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด | - | ||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดสำคัญ | - | ||||||||||||||||||
ตัวชี้วัด Area Base | - | ||||||||||||||||||
Tags | |||||||||||||||||||
ระยะเวลาการประเมินผล | ไตรมาส 2 และ ไตรมาส 4 | ||||||||||||||||||
ข้อมูล Baseline |
| ||||||||||||||||||
เกณฑ์การประเมินผล | ปี2564:
| ||||||||||||||||||
วิธีการประเมินผล | 1 เขตสุขภาพมีแผน BCP for EIDs ( เป้าหมาย ) ข้อมูลรายงาน BCP for EIDs ของเขตสุขภาพ 1 – 12 ( วิธีการประเมิน ) 2 รพ. ระดับ A และ S ทุกแห่งใน เขตสุขภาพมีแผน BCP for EIDs และ มีการซ้อมแผน ( เป้าหมาย ) เอกสารแผน BCP for EIDs และรายงานการซ้อมแผน ( วิธีการประเมิน ) | ||||||||||||||||||
เอกสารสนับสนุน | คู่มือประกอบการจัดทำแผนดำเนินกิจการอย่างต่อเนื่องสำหรับสถานพยาบาล กรณีโรคติดต่ออุบัติใหม่(BCP for EIDs in Health Care Facilities) | ||||||||||||||||||
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด | 1. นพ.กิตติวัฒน์ มะโนจันทร์ ผู้อำนวยการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6283 โทรศัพท์มือถือ : 08 2649 4884 โทรสาร : 0 2591 8264 E-mail : kityimpan@gmail.com กองวิชาการ กรมการแพทย์ 2. ทพญ.ออนอง มั่งคั่ง ทันตแพทย์ชำนาญการพิเศษ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6348 โทรศัพท์มือถือ : 08 5345 6491 โทรสาร : 0 2591 8279 E-mail : o.mungkung@gmail.com กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กรมการแพทย์ 3. นางอำไพพร ยังวัฒนา นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6282 โทรศัพท์มือถือ : 08 1668 5008 โทรสาร : 0 2591 8265 E-mail : ampaiporn@yahoo.com กองวิชาการแพทย์ กรมการแพทย์ 4. นางนริศรา แย้มทรัพย์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6329 โทรศัพท์มือถือ : 08 1988 3925 โทรสาร : 0 2591 8265 E-mail : ecsdms6285@gmail.com สำนักนิเทศระบบการแพทย์ กรมการแพทย์ | ||||||||||||||||||
หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง) | 1. กองตรวจราชการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 2. สำนักนิเทศระบบการแพทย์ กรมการแพทย์ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6358 - 59 โทรสาร : 0 2965 9851 3. กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กรมการแพทย์ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6345 โทรสาร : 0 2591 8279 | ||||||||||||||||||
ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน | 1. ว่าที่ร้อยตำรวจโทหญิงนภา ศิริวิวัฒนากุล ผู้อำนวยการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : - โทรศัพท์มือถือ : 08 1687 4178 โทรสาร : 0 2591 8279 E-mail : napa_s1@hotmail.com กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กรมการแพทย์ 2. นางกฤติกา อิงคสุวรรณกุล หัวหน้ากลุ่มงานติดตามและประเมินผล โทรศัพท์ที่ทำงาน :0 2590 6340 โทรศัพท์มือถือ : 08 6894 9675 โทรสาร : 0 2591 8279 E-mail : eva634752@gmail.com กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กรมการแพทย์ 3. นางบุญญาดา พานทอง หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์และแผนงาน โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6348 โทรศัพท์มือถือ : 08 1700 9747
โทรสาร : 0 2591 8279 E-mail : planning.sdvs@gmail.com กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กรมการแพทย์ 4. นายปวิช อภิปาลกุล นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6350 โทรศัพท์มือถือ : 09 8546 3564 โทรสาร : 0 2591 8279 E-mail: eva634752@gmail.com กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กรมการแพทย์ | ||||||||||||||||||
รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base | 0 | ||||||||||||||||||
Areabase Kpi Regioncode | 0 | ||||||||||||||||||
หมายเหตุ | |||||||||||||||||||
Last Update | 2021-10-05 08:51:39 | ||||||||||||||||||
Download |