อาหารริมบาทวิถี (Street Food Good Health) จังหวัดละ 1 แห่ง
ผลการดำเนินงาน >>ชื่อตัวชี้วัด | อาหารริมบาทวิถี (Street Food Good Health) จังหวัดละ 1 แห่ง | ||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
Child KPI | สร้าง KPI ย่อย | ||||||||||||||||
ปีงบประมาณ | 2564 | ||||||||||||||||
ระดับตัวชี้วัด | ประเทศ | ||||||||||||||||
ตัวชี้วัดที่ | 017.2 | ||||||||||||||||
Sort Order | 0 | ||||||||||||||||
คำนิยาม | อาหารปลอดภัย หมายถึง อาหารที่ได้มีการจัดเตรียม ปรุงผสม และกินอย่างถูกต้องตามวิธีการและวัตถุประสงค์ของอาหารนั้น ๆ แล้วไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภค ส่วนอาหารที่ไม่ปลอดภัย และก่อให้เกิดอันตรายเมื่อบริโภคเข้าไปคืออาหารที่มีสารปนเปื้อน อาหารริมบาทวิถี (Street Food Good Health) หมายถึง อาหารที่จำหน่ายในแผงลอยจำหน่ายอาหารที่ตั้งริมฟุตบาทหรือริมบาทวิถี มีลักษณะเป็นแคร่ แท่น โต๊ะ แผง รถเข็น หรือพาหนะอื่นใดที่ขายอาหาร เครื่องดื่ม น้ำแข็ง โดยตั้งประจำที่ในบริเวณที่ทางราชการอนุญาต อันได้แก่ ที่ทางสาธารณะ ที่เอกชน ที่ราชพัสดุ ที่สาธารณประโยชน์ บริเวณวัด หรือที่ริมน้ำ ซึ่งอาจจะมีการจัดตั้งแบบถาวร หรือเคลื่อนย้ายได้ตามช่วงเวลาที่กำหนด ตลาดนัด หมายถึง ตลาดประเภทที่ 2 ตามกฎกระทรวงว่าด้วยสุขลักษณะของตลาด พ.ศ.2551 ซึ่งหมายถึง ตลาดที่ไม่มีโครงสร้างอาคาร ตลาดนัด น่าซื้อ (Healthy Market) หมายถึง เกณฑ์มาตรฐานตลาดนัด น่าซื้อ กำหนดไว้ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม (Environmental Health) ด้านความปลอดภัยของอาหาร (Food Safety) และด้านการคุ้มครองผู้บริโภค (Customer Protection) | ||||||||||||||||
หน่วยตัวชี้วัด | จำนวน | ||||||||||||||||
หน่วยของค่า A | จังหวัด | ||||||||||||||||
นิยามของค่า A | จำนวนจังหวัดจังหวัดมีการขับเคลื่อนการดำเนินงานอาหารปลอดภัยผ่านเกณฑ์ | ||||||||||||||||
หน่วยของค่า B | |||||||||||||||||
นิยามของค่า B | |||||||||||||||||
หน่วยของค่า C | |||||||||||||||||
นิยามของค่า C | |||||||||||||||||
หน่วยของค่า D | |||||||||||||||||
นิยามของค่า D | |||||||||||||||||
หน่วยของค่า E | |||||||||||||||||
นิยามของค่า E | |||||||||||||||||
หน่วยของค่า F | |||||||||||||||||
นิยามของค่า F | |||||||||||||||||
สูตรคำนวนตัวชี้วัด | A | ||||||||||||||||
Operator | >= | ||||||||||||||||
เกณฑ์เป้าหมาย | อาหารริมบาทวิถี (Street Food Good Health) จังหวัดละ 1 แห่ง | ||||||||||||||||
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย | 76 จังหวัด และ กทม | ||||||||||||||||
ค่าเป้าหมาย | 1.00 | ||||||||||||||||
Max Value | - | ||||||||||||||||
วิธีการจัดเก็บข้อมูล | 1.สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามเกณฑ์ตัวชี้วัด และรายงาน 2. ศูนย์อนามัยนำข้อมูลจากระบบ Google Form มาวิเคราะห์ GAP ในภาพรวมของเขตสุขภาพ 3. กรมอนามัย วิเคราะห์ข้อมูลฯ ระดับประเทศ จัดทำเป็นรายงานสรุปผลการดำเนินงานฯ 4. กรมอนามัย จัดส่งรายงานผลการดำเนินงานฯ กระทรวงสาธารณสุข | ||||||||||||||||
แหล่งข้อมูล | สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด | ||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง | - | ||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับเขต | - | ||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด | - | ||||||||||||||||
ตัวชี้วัดสำคัญ | - | ||||||||||||||||
ตัวชี้วัด Area Base | - | ||||||||||||||||
Tags | |||||||||||||||||
ระยะเวลาการประเมินผล | รายไตรมาส รอบ 3, 6, 9 และ 12 เดือน | ||||||||||||||||
ข้อมูล Baseline |
| ||||||||||||||||
เกณฑ์การประเมินผล |
| ||||||||||||||||
วิธีการประเมินผล | 1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ประสานและขับเคลื่อนการดำเนินงานตามเกณฑ์ตัวชี้วัดร่วมกับ 2. ศูนย์อนามัย 2.1 วิเคราะห์และวางแผนการขับเคลื่อนงานอาหารปลอดภัยในพื้นที่ที่รับผิดชอบ 2.2 สนับสนุน ติดตาม กำกับการดำเนินงานอาหารปลอดภัยของ สสจ. และ อปท. 2.3 ประเมินผลการดำเนินงานของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัด ทั้งเชิงปริมาณ 2.4 จัดทำสรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดฯ ภาพรวมของเขต รวมทั้งสุ่มประเมินฯ 3. กรมอนามัยร่วมกับภาคีเครือข่ายสุ่มประเมินเชิงคุณภาพฯ ในระดับเขต/พื้นที่ และจัดทำ | ||||||||||||||||
เอกสารสนับสนุน | 1. พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2560 2. กฎกระทรวงว่าด้วยสุขลักษณะของตลาด พ.ศ.2551 3. “หลักเกณฑ์ด้านสุขลักษณะของตลาด“ ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2542) 4. กฎกระทรวงฯ ว่าด้วยสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ.2561 5. คู่มือมาตรฐานอาหารริมบาทวิถี (Street Food) 6. คู่มือตลาดนัดน่าซื้อ (Temporary Market) พ.ศ.2557
| ||||||||||||||||
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด | ผู้ประสานงานตัวชี้วัด 1. น.ส.ปวริศา ดิษยาวานิช ตำแหน่ง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 4174 โทรศัพท์มือถือ : 08 5514 3891 โทรสาร : 0 2590 4188 E-mail : pawarisa.d@anamai.mail.go.th สถานที่ทำงาน สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย 2. นางลลนา ทองแท้ ตำแหน่ง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 4180 โทรศัพท์มือถือ : 08 9413 4968 โทรสาร : 0 2590 4188 E-mail : lalana.t@ anamai.mail.go.th สถานที่ทำงาน สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ 1. นายเอกชัย ชัยเดช ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 4178 โทรศัพท์มือถือ : - โทรสาร : 0 2590 4188 E-mail : ekkachai.c@anamai.mail.go.th สถานที่ทำงาน สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย | ||||||||||||||||
หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง) | นางสาวผุสดี ประสิทธิ์สมบัติ ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 4180 โทรศัพท์มือถือ : 08 7493 2285 โทรสาร : 0 2590 4188 E-mail : pusadee.p@ anamai.mail.go.th สถานที่ทำงาน สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย | ||||||||||||||||
ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน | นางลลนา ทองแท้ ตำแหน่ง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 4180 โทรศัพท์มือถือ : 08 9413 4968 โทรสาร : 0 2590 4188 E-mail : lalana.t@ anamai.mail.go.th สถานที่ทำงาน สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย | ||||||||||||||||
รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base | 0 | ||||||||||||||||
Areabase Kpi Regioncode | 0 | ||||||||||||||||
หมายเหตุ | |||||||||||||||||
Last Update | 2021-09-27 13:10:52 | ||||||||||||||||
Download |