ร้อยละชุมชนผ่านเกณฑ์การดำเนินงาน “ชุมชนวิถีใหม่ ห่างไกล NCDs”

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละชุมชนผ่านเกณฑ์การดำเนินงาน “ชุมชนวิถีใหม่ ห่างไกล NCDs”
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2564
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่014
Sort Order0
คำนิยาม

 

ชุมชนวิถีใหม่ ห่างไกล NCDs หมายถึง ชุมชนที่มีการดำเนินการเพื่อจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มสงสัยป่วยต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง แบบมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายหลายภาคส่วน ประกอบด้วย ภาคท้องถิ่น ภาคสาธารณสุข และภาคประชาชน เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อาสาสมัครสาธารณสุข ชุมชน/หมู่บ้าน และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยใช้กรอบแนวทางการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน (CBI NCDs) 5 ขั้นตอน ผนวกกับการใช้กลยุทธ์การสร้างเสริมสุขภาพตามกฎบัตรออตตาวา (Ottawa charter for health promotion) ทั้ง 5 ประเด็น โดยเฉพาะการขับเคลื่อนให้เกิดมาตรการชุมชน/นโยบายสาธารณะ ซึ่งจะส่งผลต่อความต่อเนื่องและยั่งยืน

ชุมชน หมายถึง หมู่ชน หรือกลุ่มคนที่อยู่รวมกันเป็นสังคม อาศัยอยู่ในอาณาบริเวณเดียวกันและมีผลประโยชน์ร่วมกัน มีวัตถุประสงค์ร่วมกัน มีการติดต่อสื่อสารกัน มีความเอื้ออาทรต่อกัน มีการเรียนรู้ร่วมกันในทำกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้เกิดความสำเร็จตามวัตถุประสงค์

เกณฑ์การดำเนินงาน “ชุมชนวิถีใหม่ ห่างไกล NCDs” ประกอบด้วย

  1. ชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีการวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์โรค ปัญหาและปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังร่วมกัน เพื่อวางแผนกำหนดมาตรการจัดการปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชนตามกลุ่มวัย
  2. ชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีการจัดทำแผนงาน/โครงการแบบมีส่วนร่วม และขับเคลื่อนการดำเนินงานตามแผน เพื่อจัดการแก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สอดคล้องกับข้อมูลการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน
  3. ชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีการติดตามประเมินผลอย่างมีส่วนร่วม เพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะการดำเนินงานในระยะต่อไป
หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aชุมชน
นิยามของค่า Aจำนวนชุมชนของแต่ละจังหวัดที่ผ่านเกณฑ์การดำเนินงาน “ชุมชนวิถีใหม่ ห่างไกล NCDs”
หน่วยของค่า Bชุมชน
นิยามของค่า Bจำนวนชุมชนทั้งหมดของแต่ละจังหวัดที่ดำเนินงาน “ชุมชนวิถีใหม่ ห่างไกล NCDs”
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)x100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 50 หมายถึง จำนวนชุมชนที่ผ่านเกณฑ์การดำเนินงาน “ชุมชนวิถีใหม่ ห่างไกล NCDs” อย่างน้อย 76 ชุมชน ทั่วประเทศ (ดำเนินงานจังหวัดละ 2 ชุมชน ผ่านเกณฑ์อย่างน้อย 1 ชุมชน)
ประชากรกลุ่มเป้าหมายกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มสงสัยป่วยต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง วัยเด็ก วัยรุ่น/วัยเรียน วัยทำงาน วัยสูงอายุ (Type 1 และ 3)
ค่าเป้าหมาย50.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

จำนวนชุมชนทั้งหมดของแต่ละจังหวัดที่ดำเนินงาน “ชุมชนวิถีใหม่ ห่างไกล NCDs”  วิธีการจัดเก็บ

- ชุมชนรายงานผลการดำเนินงาน ตามแบบรายงาน (เอกสารแนบ 1) จัดส่งให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

- สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดรวบรวมรายชื่อพร้อมด้วยแบบรายงานชุมชนที่ดำเนินงาน “ชุมชนวิถีใหม่ ห่างไกล NCDs” ทั้งหมด ตามแบบรายงาน (เอกสารแนบ 2) ส่งให้กับสำนักงานป้องกันควบคุมโรคเขต และสำนักงานป้องกันควบคุมโรคเขต รวบรวมส่งให้กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค

จำนวนชุมชนของแต่ละจังหวัดที่ผ่านเกณฑ์การดำเนินงาน “ชุมชนวิถีใหม่ ห่างไกล NCDs” วิธีการจัดเก็บ

- สำนักงานป้องกันควบคุมโรคเขต ประเมินผลตามเกณฑ์การดำเนินงาน “ชุมชนวิถีใหม่ ห่างไกล NCDs” ส่งให้กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค เพื่อรวบรวมและสรุปผลการดำเนินงานในภาพรวมประเทศเสนอต่อกระทรวงสาธารณสุข

การประมวลผลตัวชี้วัด โดยกองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค

แหล่งข้อมูล

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด, สำนักงานป้องกันควบคุมโรคเขต, และกองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผล6 เดือน และ 12 เดือน
ข้อมูล Baseline

Base line Data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2561

2562

2563

ชุมชนที่มีการดำเนินงาน “ชุมชนวิถีใหม่ ห่างไกล NCDs” ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด

ร้อยละ

ตัวชี้วัดใหม่ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564

เกณฑ์การประเมินผล

ตัวชี้วัด

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ร้อยละชุมชนผ่านเกณฑ์ การดำเนินงาน “ชุมชนวิถีใหม่ ห่างไกล NCDs”

มีการวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์โรค ปัญหาและปัจจัยเสี่ยง เพื่อวางแผนกำหนดมาตรการจัดการปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชนตามกลุ่มวัย

มีการจัดทำแผนงาน/โครงการแบบมีส่วนร่วม และขับเคลื่อนการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ เพื่อจัดการแก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

มีการติดตามประเมินผล และข้อเสนอแนะการดำเนินงานในระยะต่อไป

ร้อยละชุมชนผ่านเกณฑ์การดำเนินงาน “ชุมชนวิถีใหม่ ห่างไกล NCDs”

 
วิธีการประเมินผล
เอกสารสนับสนุน

1.แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ โดยยึดชุมชนเป็นฐาน

2.แนวทางชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (CBI NCDs) ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

3.คู่มือการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยยึดชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (CBI NCDs) สำหรับบุคลากรสาธารณสุข/ผู้รับผิดชอบงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

4.แบบรายงานผลการดำเนินงาน

หมายเหตุ: ดาวโหลดเอกสารทาง www.ddc.moph.go.th/dncd/, www.facebook.com/thaincd

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

แพทย์หญิงศศิธร  ตั้งสวัสดิ์                ผู้อำนวยการกองโรคไม่ติดต่อ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3893          โทรศัพท์มือถือ :

โทรสาร : 0 2590 3893                     E-mail : Sasitth@gmail.com

2.นางสาวกมลทิพย์ วิจิตรสุนทรกุล          หัวหน้ากลุ่มพัฒนานโยบายสาธารณและสื่อสารความเสี่ยง

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3867          โทรศัพท์มือถือ : 08 3051 3737

โทรสาร : 0 2590 3893                     E-mail : kamolthipph123@gmail.com

 

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1.นางสาวกมลทิพย์ วิจิตรสุนทรกุล          หัวหน้ากลุ่มพัฒนานโยบายสาธารณและสื่อสารความเสี่ยง

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3867          โทรศัพท์มือถือ : 08 3051 3737

โทรสาร : 0 2590 3893                     E-mail : kamolthipph123@gmail.com

2.นางสาวสุธาทิพย์ ภัทรกุลวณิชย์           นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3867           โทรศัพท์มือถือ : 08 1818 8915

โทรสาร : 0 2590 3893                     E-mail : suthathip.ncd@gmail.com

3.นายกัณฑพล ทับหุ่น                       นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ 

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3867          โทรศัพท์มือถือ : 08 7849 7840

โทรสาร : 0 2590 3893                     E-mail : kanthabhon@gmail.com

4. นางสาวณัฐกฤตา บริบูรณ์                นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ                            

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3887           โทรศัพท์มือถือ : 

โทรสาร : 0 2590 3893          E-mail : ncdplan@gmail.com

5. นางสาวรัตนาภรณ์ จันตะนี               นักวิชาการสาธารณสุข                        

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3867            โทรศัพท์มือถือ : โทร. 06 3217 4423

โทรสาร : 0 2590 3893           E-mail : baitong.ptk@gmail.com

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-09-23 15:11:44
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>