ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care ) ในชุมชนผ่านเกณฑ์

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care ) ในชุมชนผ่านเกณฑ์
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2564
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่007.2
Sort Order0
คำนิยาม

ระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ หมายถึง การดำเนินงานส่งเสริม พัฒนา สนับสนุนฟื้นฟูและสร้างความเข้มแข็งให้กับภาคีเครือข่ายและชุมชนให้มีส่วนร่วมในการดูแลและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้สูงอายุให้มีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี มีอายุยืนยาว

องค์ประกอบของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์ หมายถึง การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย และชุมชน ในการดำเนินงานด้านการส่งเสริม พัฒนา สนับสนุนฟื้นฟู และสร้างความเข้มแข็งให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดี มีอายุยืนยาว ด้วยองค์ประกอบที่สำคัญ ดังนี้

1. ผู้สูงอายุทุกคนในชุมชนได้รับการประเมินคัดกรองปัญหาสุขภาพขั้นพื้นฐานตามชุดสิทธิประโยชน์

     - ประเมินผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิงตามกลุ่มศักยภาพตามความสามารถในการประกอบ
       กิจวัตรประจำวัน (Barthel Activities of Daily Living: ADL) ทุกราย รอบ 9 เดือน และ
        รอบ 12 เดือน

     - ประเมินสุขภาพและคัดครองกลุ่มอาการผู้สูงอายุ 9 ข้อ (โดยคณะกรรมการพัฒนาเครื่องมือคัดกรอง และประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข)

 

       

2. ผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิงที่ผ่านการประเมินคัดกรองและมีปัญหาด้านสุขภาพ ได้รับการดูแลและวางแผนการส่งเสริมดูแลสุขภาพรายบุคคล (Care Plan)

3. มีระบบเฝ้าระวังด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ในเชิงป้องกันการดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิงในระดับตำบล ได้แก่

      - การดูแลส่งเสริมด้านทันตสุขภาพในผู้สูงอายุ

      - มีมาตรการส่งเสริมสุขภาพเชิงป้องกันตามสถานการณ์การระบาดและควบคุมโรค
        ในกลุ่มผู้สูงอายุ และผู้มีภาวะพึ่งพิงในระดับตำบล

      - การประเมินด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ที่อยู่อาศัย ระบบสาธารณูปโภค การจัดการขยะติดเชื้อที่เอื้อต่อการดำรงชีวิตของกลุ่มผู้สูงอายุ และผู้มีภาวะพึ่งพิงในระดับตำบล เป็นต้น

4. มี Care Manager /ทีมสหวิชาชีพ /หมอครอบครัว /Caregiver อาสาสมัครบริบาลท้องถิ่นอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และแกนนำผู้สูงอายุในการดูแลเยี่ยมผู้สูงอายุ และผู้มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน

5. มีการประเมินผู้สูงอายุ และผู้มีภาวะพึ่งพิงตามกลุ่มศักยภาพตามความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (Barthel Activities of Daily Living: ADL) รอบ 9 เดือน และ
   รอบ 12 เดือน โดยมีผลการประเมินการเปลี่ยนกลุ่มของผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิงจาก

       - กลุ่มติดเตียงมาติดบ้าน

       - กลุ่มติดบ้านมาติดสังคม

6. มีระบบการบันทึกการรายงานข้อมูลผ่านระบบโปรแกรม Long Term Care (3C)

       - รายงานการขึ้นทะเบียน CM /CG /CP

       - การรายงานผลการประเมินตำบลตามเกณฑ์ 6 องค์ประกอบ ทั้งพื้นที่ใหม่ /พื้นที่
         ที่ผ่านการประเมินมาแล้ว 3 ปีขึ้นไป เพื่อให้การประเมินและรับรองซ้ำ
         (RE–Accreditation)

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aตำบล
นิยามของค่า Aจำนวนตำบลที่ผ่านการประเมินระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน (6 องค์ประกอบ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564)
หน่วยของค่า Bตำบล
นิยามของค่า Bจำนวนตำบลใหม่ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน 6 องค์ประกอบ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
หน่วยของค่า Cตำบล
นิยามของค่า Cจำนวนตำบลที่ผ่านการประเมินมาแล้วอย่างน้อย 3 ปี และขอรับการประเมินรับรองซ้ำ(RE–Accreditation) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตามเกณฑ์การประเมิน 6 องค์ประกอบ
หน่วยของค่า Dตำบล
นิยามของค่า Dจำนวนตำบลทั้งหมด
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/D)x100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมาย95
ประชากรกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงทุกคนทั่วประเทศ ดำเนินการทุกจังหวัด อำเภอ ตำบล ทั่วประเทศ
ค่าเป้าหมาย95.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

ข้อมูลการคัดกรอง :

     - มีการประเมินความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน (ADL)

     - ประเมินสุขภาพและคัดครองกลุ่มอาการผู้สูงอายุ 9 ข้อ (โดยคณะกรรมการพัฒนา
        เครื่องมือคัดกรองและประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข)

     - กลุ่มผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง : ได้รับการประเมินความสามารถในการดำเนิน
       ชีวิตประจำวัน (ADL) ประเมินตามรอบ 9 เดือน และรอบ 12 เดือน เพื่อดู
       การเปลี่ยนแปลงและคุณภาพของ Care Plan

ข้อมูลมีบริการส่งเสริมป้องกันดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในระดับตำบล :

     - การดูแลส่งเสริมด้านทันตสุขภาพในผู้สูงอายุ

     - มีระบบการส่งเสริมสุขภาพเชิงป้องกันตามสถานการณ์การระบาด และควบคุมโรคใน
        กลุ่มผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิงในระดับตำบล

    - การประเมินด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ที่อยู่อาศัย ระบบสาธารณูปโภค ที่เอื้อต่อการดำรงชีวิตของกลุ่มผู้สูงอายุ และผู้มีภาวะพึ่งพิงในระดับตำบล เป็นต้น

ข้อมูลการจัดทำ Care Plan ผู้สูงอายุ และผู้มีภาวะพึ่งพิงรายบุคคล ตั้งแต่ประจำ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยจัดทำเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุ และผู้มีภาวะพึ่งพิง ที่มี ADL < 11 ) :

    - หน่วยบริการมีการจัดทำ Care Plan รายบุคคลผ่านระบบโปรแกรม Long Term Care (3C)

    - มี Caregiver อาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ และอาสาสมัคร
      สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เข้าเยี่ยมและให้การดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิงตาม Care Plan

    - พื้นที่หน่วยบริการมีการบันทึกข้อมูลรายงานผลการดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง
      ลงใน Care Plan ผ่านระบบโปรแกรม Long Term Care (3C)

แหล่งข้อมูล

แหล่งฐานข้อมูลที่สามารถสืบค้น /อ้างอิง :

    - ระบบโปรแกรม Long Term Care (3C) รายงานประจำเดือนกรมอนามัย

    - ระบบโปรแกรม Long Term Care สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

    - ระบบโปรแกรม HDC กระทรวงสาธารณสุข

    - ระบบโปรแกรม Health KPI กระทรวงสาธารณสุข

    - DOH Dashboard กรมอนามัย

หมายเหตุ : ทุกระบบมาจากแหล่งข้อมูลเดียวกันคือระบบโปรแกรม Long Term Care (3C)

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลรอบที่ 1 : 6 เดือนแรก (เดือนตุลาคม 2563 – เดือนมีนาคม 2564) รอบที่ 2 : 6 เดือนหลัง (เดือนเมษายน – เดือนกันยายน 2564)
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2561

2562

2563

ตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะ

ยาว (Long Term Care :

LTC) ในชุมชนผ่านเกณฑ์

ร้อยละ

71.59

(ทุกตำบลทั่ว

ประเทศ)         

         

 

83.9

 (ทุกตำบลทั่ว

ประเทศ)

92.78

(ทุกตำบลทั่ว

ประเทศ)

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2560:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

30

-

50

 

 

 

 

ปี 2561:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

50

-

60

 

 

 

ปี 2562:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

60

-

70

 

 

 

 

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

70

-

80

 

 

 

 

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

- ทุกจังหวัดมีแผนการ
  ขับเคลื่อนและมีแนว
  ทางการคัดกรองและ
  ประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ
  ด้วย ADL

 

 

 

- ประเมินสุขภาพและ
  คัดครองกลุ่มอาการ
  ผู้สูงอายุ 9 ข้อ
  (โดยคณะกรรมการ
  พัฒนาเครื่องมือคัดกรอง
  และประเมินสุขภาพ
  ผู้สูงอายุกระทรวง
  สาธารณสุข)

 

 

- มีการประชุมชี้แจง
  การประสานหน่วยงาน
  ที่เกี่ยวข้อง

- ทุกจังหวัดมีการจัดทำ
  แผนการดูแลผู้สูงอายุ
  รายบุคคล

- มีแผนการขับเคลื่อน
  การดำเนินงานตำบล
  คุณภาพในทุกพื้นที่

 

- มีผลการประเมิน
  คัดกรอง ADLและปัญหา
  สุขภาพผู้สูงอายุที่จำเป็น
  ในการวางแผนการดูแล
  ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

 

 

 

- มีผลการประเมินสุขภาพ
  และคัดครองกลุ่มอาการ
  ผู้สูงอายุ 9 ข้อ
  (โดยคณะกรรมการ
  พัฒนาเครื่องมือคัดกรอง
  และประเมินสุขภาพ
  ผู้สูงอายุกระทรวง
  สาธารณสุข)

 

 

- มีผลการประเมินตำบล
  ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 90

 

-  มีผลการประเมินคัด
   กรอง ADL และปัญหา
   สุขภาพผู้สูงอายุที่
   จำเป็นในการวาง
   แผนการดูแลส่งเสริม
   สุขภาพผู้สูงอายุ

 

 

- มีผลการประเมินสุขภาพ
  และคัดครองกลุ่มอาการ
  ผู้สูงอายุ 9 ข้อ
  (โดยคณะกรรมการ
  พัฒนาเครื่องมือคัดกรอง
  และประเมินสุขภาพ
  ผู้สูงอายุกระทรวง
  สาธารณสุข)

 

 

  • มีผลการประเมินตำบลผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 93
  •  มีผลการประเมิน
     คัดกรองADLและ
     ปัญหาสุขภาพ
     ผู้สูงอายุที่จำเป็นใน
     การวางแผนการดูแล
     ส่งเสริมสุขภาพ
     ผู้สูงอายุ

 

- มีผลการประเมิน
  สุขภาพและคัดครอง
  กลุ่มอาการผู้สูงอายุ
  9 ข้อ (โดย
  คณะกรรมการ
  พัฒนาเครื่องมือคัด
  กรองและประเมิน
  สุขภาพผู้สูงอายุ
  กระทรวง
  สาธารณสุข)

  • มีจำนวนตำบล
    ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 95

 

 

วิธีการประเมินผล

1. พื้นที่ประเมินตนเองตามองค์ประกอบในระบบโปรแกรม Long Term Care (3C)

2. จังหวัดประเมินพื้นที่ตามองค์ประกอบในระบบโปรแกรม Long Term Care (3C) และรายงานประจำเดือน

3. ศูนย์อนามัยเขตสุ่มประเมินและรายงานตามองค์ประกอบในระบบโปรแกรม Long Term Care (3C) และรายงานประจำเดือน

เอกสารสนับสนุน

- คู่มือแนวทางการจัดทำ Care Plan Online กรมอนามัย

- โปรแกรมการบันทึกข้อมูล Long Term Care (3C) กรมอนามัย /สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

- คู่มือการใช้โปรแกรม Long Term Care (3C)

- คู่มือแนวทางการฝึกอบรมหลักสูตร Care Manager /Caregiver กรมอนามัย

- คู่มือแนวทางการฝึกอบรมหลักสูตรฟื้นฟู Care Manager /Caregiver กรมอนามัย

- คู่มือแนวทางการฝึกอบรมอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่นตามหลักสูตรนักบริบาลท้องถิ่น
(Care Community)

- คู่มือแนวทางการดำเนินงานการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะกลางในชุมชน (Intermediate  Care in Community)

- สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย

- กลยุทธ์การดำเนินงานตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว

- แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยาว

- คู่มือสนับสนุนการบริหารจัดการระบบบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

- คู่มือการใช้การโปรแกรม Long Term Care (3C)

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

นายแพทย์กิตติ ลาภสมบัติศิริ  ตำแหน่ง : ผู้อำนวยการสำนักอนามัยผู้สูงอายุ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 4503            โทรศัพท์มือถือ : 081 682 9668

โทรสาร : 0 2590 4501                       E-mail : kitti.l@anamai.mail.go.th

สถานที่ทำงาน : สำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย

 

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

นางรัชนี บุญเรืองศรี                 ตำแหน่ง : นักสังคมสงเคราะห์ชำนาญการพิเศษ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 4508           โทรศัพท์มือถือ : 099 616 5396

โทรสาร : 0 2590 4501                     E-mail : rachanee.b@anamai.mail.go.th

สถานที่ทำงาน : สำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์   

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 4499

โทรสาร : 0 2590 4501                      E-mail : 02group.anamai@gmail.com

สถานที่ทำงาน : สำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-10-12 08:57:58
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>