ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน ระดับ 6

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน ระดับ 6
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2564
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่072.2
Sort Order0
คำนิยาม

 

หน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน หมายถึง หน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่มีวิกฤตทางการเงิน ตามหลักเกณฑ์การคิดวิกฤตทางการเงิน ระดับ 7 (Risk Scoring) โดยใช้อัตราส่วนทางการเงิน 5 รายการวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเงิน อัตราส่วนทางการเงิน 5 รายการ ประกอบด้วย

  1. อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนหรืออัตราส่วนสภาพคล่อง (Current Ratio :CR) = สินทรัพย์หมุนเวียน หารด้วย หนี้สินหมุนเวียน
  2. อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick Ratio : QR) =(สินทรัพย์หมุนเวียน หักด้วย สินค้าคงเหลือ หักด้วย สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น) หารด้วย หนี้สินหมุนเวียน
  3. อัตราส่วนเงินสด (Cash Ratio : Cash Ratio) (เงินสด บวกกับ รายการเทียบเท่าเงินสด บวกกับ เงินฝากประจำ) หารด้วย หนี้สินหมุนเวียน
  4. ทุนสำรองสุทธิ (Net Working Capital : NWC) = สินทรัพย์หมุนเวียน หักด้วย หนี้สินหมุนเวียน
  5.  (Net Income : NI) = รวมรายได้ หักด้วย รวมค่าใช้จ่าย

อัตราส่วนทางการเงินทั้ง 5 รายการข้างต้นถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเงินของหน่วยบริการโยกำหนดเกณฑ์สำหรับการประเมินโดยมีค่ากลางของแต่ละหน่วยบริการมาเปรียบเทียบกับค่ากลางของอุตสาหกรรม ดังนี้

  1. กลุ่มแสดงความคล่องตามสภาพสินทรัพย์
    1. CR < 1.5
    2. QR < 1.0
    3. Cash < 0.8

      2. กลุ่มแสดงความมั่นคงทางการเงิน

         2.1 แสดงฐานะทางการเงิน ทุนหมุนเวียน (NWC) <0

         2.2 แสดงฐานะจากผลประกอบการ (กำไรสุทธิ) (กำไรสุทธิรวมค่าเสื่อมราคาและ  ค่าตัดจำหน่าย Net Income NI) NI < 0

      3. กลุ่มแสดงระยะเวลาเข้าสู่ปัญหาการเงินรุนแรง

         3.1 NWC/ANI ระยะเวลาทุนหมุนเวียนหมด < 3 เดือน*

         3.1 NWC/ANI ระยะเวลาทุนหมุนเวียนหมด < 6 เดือน

*โดยให้น้ำหนักของ NWC/ANI ระยะเวลาทุนหมุนเวียนหมด < 3 เดือน มากกว่าตัวแปรอื่น นหมด ปัญหาการเงินรุนแรง

2 เท่า ทั้งนี้สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้นำเงื่อนไขดังตาราง 4 มาใช้ในการจัดกลุ่มโรงพยาบาลที่ประสบวิกฤตทางการเงินเป็น 7 ระดับ ดังนี้

          ระดับ 0-1        ปกติ

          ระดับ 2          คาดว่าจะดีขึ้นภายหลัง 3 เดือน

          ระดับ 3          คาดว่าจะดีขึ้นภายใน 3 เดือน

          ระดับ 4          คาดว่าจะประสบปัญหาภายหลัง 6 เดือน

          ระดับ 5          คาดว่าจะประสบปัญหาภายใน 6 เดือน

          ระดับ 6          คาดว่าจะประสบปัญหาภายใน 3 เดือน

          ระดับ 7          มีภาวะวิกฤตทางการเงินขั้นรุนแรง

       การประเมินหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินจะประเมินทุกสิ้นไตรมาส โดยกำหนดให้หน่วยบริการที่ได้ระดับ 7 ซึ่งมีภาวะวิกฤตทางการเงินขั้นรุนแรง และระดับ 6 ที่คาดว่าจะประสบปัญหาภายใน 3 เดือน

       ทั้งนี้ ระบบข้อมูลบัญชีของหน่วยบริการที่ดีมีคุณภาพมีส่วนสำคัญที่ทำให้ผลการประเมินสถานะทางการเงินที่มีความถูต้อง แม่นยำ และการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพจะช่วยแก้ไขปัญหาภาวะวิกฤตทางการเงินที่เกิดขึ้นได้

การขับเคลื่อนการเงินการเงินคลังปี 2564

1.มาตรการในการขับเคลื่อนด้านการเงินการคลัง

   มาตรการที่ 1 : การจัดสรรเงินอย่างเพียงพอ (Sufficient Allocation)

   มาตรการที่ 2 : พัฒนาระบบบัญชี (Accounting Management)

   มาตรการที่ 3 : พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการเงินการคลัง ด้านเศรษฐกิจสุขภาพ และด้านหลักประกันสุขภาพ

   มาตรการที่ 4 : เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารด้านการเงินการคลัง (Efficient Management)

  มาตรการที่ 5 : ติดตาม กำกับ เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพทางการเงิน วางระบบเฝ้าระวัง

มาตรการขับเคลื่อน

แนวทางการดำเนินงาน

เป้าหมาย

มาตรการที่ 1 : การจัดสรรเงินอย่างเพียงพอ (Sufficient Allocation)

  1. การประเมินความพอเพียงที่จะสามารถจัดบริการได้ของทุกกองทุน* (*ทุกกองทุน หมายถึง 5 กองทุนหลักประกอบด้วย                  1.หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าUC
  2.  

4. กองทุนแรงงานต่างด้าวและคนต่างด้าว

    1. การจัดทำแผนทางการเงินที่มีคุณภาพ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1.3 การบริหารรายได้และค่าใช้จ่ายของหน่วยบริการ

1.1 ร้อยละของหน่วยบริการที่มีข้อมูลรายได้ ต้นทุนและผลการดำเนินงานของทุกกองทุน

กลุ่มเป้าหมาย : ร้อยละ 20

รพ.ทุกเขตทุกประเภท

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1.2 ร้อยละของหน่วยบริการมีแผนทางการเงิน (Planfin) ที่มีความครบถ้วน ถูกต้องสมบูรณ์* 

*การตรวจสอบความครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ ตามเกณฑ์ที่ส่วนกลางกำหนด

ค่าเป้าหมาย: ไม่น้อยกว่าร้อยละ 100

ผลการดำเนินงานปี 2563 :

รอบที่ 1 ร้อยละ 100

รอบที่ 2 ร้อยละ 100

1.3 ร้อยละของหน่วยบริการเมื่อวิเคราะห์ความเสี่ยงของแผนทางการเงิน (Planfin Analysis) ไม่เป็นแผนแบบที่มีความเสี่ยง* (แผนแบบที่ 4, 6, 7)

ค่าเป้าหมาย: ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5

ผลการดำเนินงานปี 2563

รอบที่ 1 ร้อยละ 8.48

รอบที่ 2 ร้อยละ 8.26

มาตรการที่ 2 : พัฒนาระบบบัญชี (Accounting Management)

 

2.1 การบันทึกข้อมูลบัญชีลูกหนี้และบัญชีรายได้

 

2.1 ร้อยละของหน่วยบริการที่มีการบันทึกข้อมูลบัญชีลูกหนี้และบัญชีรายได้ถูกต้องครบถ้วนตามหลักเกณฑ์

ค่าเป้าหมาย : ร้อยละ 100

มาตรการ 3: พัฒนาศักยภาพบริหารด้านการเงินการคลังแก่เครือข่ายและบุคลากร (Network & Capacity Building)

3.1 พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการเงินการคลังแก่ผู้ปฏิบัติงานด้านบัญชีของหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

 

3.2 พัฒนาศักยภาพผู้บริหารการเงินการคลังระดับเขต จังหวัด และหน่วยบริการ

3.1 ร้อยละของผู้ปฏิบัติงานด้านบัญชีของหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ค่าเป้าหมาย : ร้อยละ 80

 

3.2 ร้อยละของผู้บริหารการเงินการคลังระดับเขต จังหวัด หน่วยบริการ

ค่าเป้าหมาย : ร้อยละ 80

 

3.3 พัฒนาศักยภาพหัวหน้างานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลการเงินการคลัง เศรษฐกิจสุขภาพ และระบบประกันสุขภาพ

3.4 พัฒนาศักยภาพด้านการเงินการคลัง เศรษฐกิจสุขภาพ และระบบประกันสุขภาพแก่ผู้บริหารหน่วยบริการ

3.3 ร้อยละของหัวหน้างานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลการเงินการคลัง เศรษฐกิจสุขภาพ และระบบหลักประกันสุขภาพ

ค่าเป้าหมาย : ร้อยละ 80

3.4 ร้อยละของผู้อำนวยการโรงพยาบาลใหม่

ค่าเป้าหมาย : ร้อยละ 80

มาตรการที่ 4: สร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการ (Efficient Management)

4.1กระจายอำนาจให้เขตสุขภาพบริหารจัดการ

 

 

 

 

4.2 พัฒนานวัตกรรมการเงินของหน่วยบริการในจัดการด้านประสิทธิภาพ

4.1 กระจายอำนาจให้เขตบริหารจัดการและปรับเกลี่ย

ค่าเป้าหมาย : วิกฤตการเงินของหน่วยบริการ ระดับ 7 ไม่เกิน

ร้อยละ 4 และระดับ 6 ไม่เกินร้อยละ 6

4.2 เขตมีนวัตกรรมการเงินการเขตละ 1 รูปแปบบ

ค่าเป้าหมาย : ประเมินผล ความสำเร็จ ไม่น้อยกว่า

ร้อยละ 80

มาตรการ 5: ติดตาม กำกับ เครื่องมือประสิทธิภาพทางการเงิน (Monitoring Management)

5.1 การควบคุมกำกับ โดยเปรียบเทียบแผนทางการเงินกับผลการดำเนินงาน

 

 

5.2 การควบคุมกำกับ โดยเกณฑ์ประสิทธิภาพทางการเงิน (7 plus efficiency)

 

 

 

 

5.3 การควบคุมกำกับด้วยเกณฑ์ประเมินต้นทุนผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน (Unit cost)

 

 

 

5.4 การเฝ้าระวัง ติดตาม ประเมินผลการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง

5.1ร้อยละของหน่วยบริการ มีผลต่างของแผนและผล ไม่เกินร้อยละ 5

ค่าเป้าหมาย : ไม่น้อยกว่า

ร้อยละ 70

5.2 ร้อยละของหน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์ประเมิน ≥ 5 ตัว (ระดับ Grade B, A-, A) จากเกณฑ์ประสิทธิภาพทางการเงิน (7 Plus Efficiency)

ค่าเป้าหมาย : ไม่น้อยกว่า

ร้อยละ 65

5.3 ร้อยละของหน่วยบริการมีต้นทุนผู้ป่วยนอก และต้นทุนผู้ป่วยใน ไม่เกินค่ากลางของหน่วยบริการในกลุ่มระดับเดียวกัน 

ค่าเป้าหมาย : ไม่น้อยกว่าร้อยละ85

5.4 มีระบบระบบคลังข้อมูล (Data Warehouse Software) และจัดการข้อมูลขนาดใหญ่   (Big Data) ด้านการเงินการคลัง

ค่าเป้าหมาย : 1 ระบบ

 

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aแห่ง
นิยามของค่า Aจำนวนหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน ระดับ 6
หน่วยของค่า Bแห่ง
นิยามของค่า Bจำนวนหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขทั้งหมด (หน่วยบริการที่จัดส่งรายงานงบทดลอง)
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)x100
Operator<=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 6
ประชากรกลุ่มเป้าหมายหน่วยบริการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ค่าเป้าหมาย6.00
Max Value6.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

การวิเคราะห์จากรายงานการเงินของหน่วยบริการที่ส่งส่วนกลาง (กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ) รายไตรมาส

แหล่งข้อมูล

กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 1 2 3 และ 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2561

2562

2563

หน่วยบริการสังกัด สำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุขที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน

ร้อยละ

ไตรมาส 1/61

ร้อยละ 0

ไตรมาส 2/61

ร้อยละ 0

ไตรมาส 3/61

ร้อยละ 1.45

ไตรมาส 4/61

ร้อยละ 4.7

ไตรมาส 1/62

ร้อยละ 0

ไตรมาส 2/62

ร้อยละ 0.1

ไตรมาส 3/62

ร้อยละ 0.3

ไตรมาส 4/62

ร้อยละ

ไตรมาส 1/63

ร้อยละ 0.0

ไตรมาส 2/63

ร้อยละ 0.0

ไตรมาส 3/63

ร้อยละ 0.3

ไตรมาส 4/63

ร้อยละ 1.7

เกณฑ์การประเมินผล

 

 

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน

ระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 4 ระดับ 6 ไม่เกินร้อย 6

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน

ระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 4 ระดับ 6 ไม่เกินร้อย 6

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะกฤตทางการเงิน

ระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 4 ระดับ 6 ไม่เกินร้อย 6

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน

ระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 4 ระดับ 6 ไม่เกินร้อย 6

 

 

 

 

 

 

ปี 2565:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน

ระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 4 ระดับ 6 ไม่เกินร้อย 4

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน

ระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 4 ระดับ 6 ไม่เกินร้อย 4

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน

ระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 4 ระดับ 6 ไม่เกินร้อย 4

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน

ระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 4 ระดับ 6 ไม่เกินร้อย 4

 

 

 

 

 

 

ปี 2566:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน

ระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 4 ระดับ 6 ไม่เกินร้อย 4

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน

ระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 4 ระดับ 6 ไม่เกินร้อย 4

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน

ระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 4 ระดับ 6 ไม่เกินร้อย 4

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน

ระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 4 ระดับ 6 ไม่เกินร้อย 4

วิธีการประเมินผล

การวัด/วิเคราะห์

เอกสารสนับสนุน

รายงานหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน

 

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1.     ชื่อ – สกุล นายกรกฤช   ลิ้มสมมุติ

ตำแหน่ง ผู้อำนวยการกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 1553  โทรศัพท์มือถือ : 09 5551 6996

โทรสาร :                              E-mail :  owbnaja@gmail.com

สถานที่ทำงาน กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ

    2. นางสาวนาวิน  อินทะวงศ์               หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนาระบบบัญชี
                                                     บริหารและประสิทธิภาพการเงินหน่วยบริการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 1575         โทรศัพท์มือถือ : 08 2400 8154

    โทรสาร : -                                E-mail : higmoph@gmail.com

กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

 

 

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

 

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

นางสุรีย์พร  องอาจอิทธิชัย                  นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ
 กลุ่มงานพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์    เศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 1574           โทรศัพท์มือถือ : 06 5423 9895

โทรสาร : 0 2590 1576                     E-mail : khuntum.srp@gmail.com

กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-11-04 16:00:36
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>