ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ การประเมิน ITA

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ การประเมิน ITA
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2564
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่061
Sort Order0
คำนิยาม

       

     การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนภูมิภาค (MOPH Integrity and Transparency Assessment : MOPH ITA)เป็นไปภายใต้แนวคิด เปิดเผยข้อมูลสู่ความโปร่งใส (Open Data to Transparency)ซึ่งเป็นหลักการพื้นฐานสำคัญของการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนภูมิภาค เน้นหลักการประเมินตนเอง (Self-Assessment) จากข้อเท็จจริงที่สามารถตรวจสอบได้จากเอกสาร / หลักฐานเชิงประจักษ์ ที่ครอบคลุมการปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ในทุกมิติตั้งแต่การบริหารงานของผู้บริหารและการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงาน ภายใต้แผนงานยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) ยุทธศาสตร์ที่ 4 บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล (Governance Excellence) แผนงานที่ 11 การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ โครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส และเป็นเครื่องมือภายใต้การขับเคลื่อนนโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2564 ตามพันธะสัญญาการขับเคลื่อนนโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2564 ประเด็นที่ 8 ธรรมาภิบาล โปร่งใส บริหารด้วยหลักธรรมาภิบาล โปร่งใส เป็นธรรม

     สังเคราะห์เป็นองค์ประกอบหลักที่สำคัญแปลงสู่คำถามที่ใช้ในการประเมินจากข้อมูล

เอกสารหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Integrity and Transparency Assessment : EBIT) จำแนกเป็น 9 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย (1) ตัวชี้วัดการเปิดเผยข้อมูล (2) ตัวชี้วัด
การจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ (3) ตัวชี้วัดการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล (4) ตัวชี้วัดการส่งเสริมความโปร่งใส (5) ตัวชี้วัดการรับสินบน (6) ตัวชี้วัดการใช้ทรัพย์สิน
ของราชการ (7) ตัวชี้วัดการดำเนินงานเพื่อป้องกันการทุจริต (8) ตัวชี้วัดการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน และ (9) ตัวชี้วัดการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร ประเมินผ่านระบบ MITAS (MOPH Integrity and Transparency Assessment System) ทุกไตรมาส
ตามที่ปฏิทินกำหนด

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aหน่วยงาน
นิยามของค่า Aจำนวนหน่วยงานที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตนเองตามแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (EBIT) ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 92 (ใน 1 ปี)
หน่วยของค่า Bหน่วยงาน
นิยามของค่า Bจำนวนหน่วยงานทั้งหมดที่เข้ารับการประเมิน ITA (1,854 หน่วยงาน)
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัดAx100/B
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 92
ประชากรกลุ่มเป้าหมายรวมทั้งสิ้น จำนวน 1,854 แห่ง จำแนกเป็น 1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด จำนวน 76 หน่วยงาน 2. โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป จำนวน 116 แห่ง 3. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ จำนวน 878 หน่วยงาน 4. โรงพยาบาลชุมชน จำนวน 784 แห่ง
ค่าเป้าหมาย92.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

จัดเก็บข้อมูลหน่วยงานเป้าหมายที่ตอบคำถามและแนบเอกสาร / หลักฐาน ตามข้อคำถามในแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ตามความเป็นจริงในระบบ MITAS (MOPH Integrity and Transparency Assessment System) และให้คะแนนการประเมินตามรอบ

การประเมิน 4 ไตรมาส ไตรมาสที่ 1 รอบ 3 เดือน (เดือนธันวาคมของทุกปี) ไตรมาสที่ 2 รอบ 6 เดือน (เดือนมีนาคมของทุกปี) ไตรมาสที่ 3 (เดือนมิถุนายนของทุกปี) และไตรมาสที่ 4 (เดือนกันยายนของทุกปี)

กำหนดระดับคะแนนในแต่ละไตรมาส ดังนี้

ไตรมาสที่ 1             ไตรมาสที่ 2         ไตรมาสที่ 3       ไตรมาสที่ 4

ระดับขั้น                   ร้อยละ 82             ร้อยละ 87         ร้อยละ 92

ของความสำเร็จ

(5 ระดับ)

 

 

 

 

 

 

แหล่งข้อมูล

แบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Integrity and Transparency Assessment : EBIT) ที่พัฒนาจากสำนักงาน ป.ป.ช. ในระบบ MITAS (MOPH Integrity and Transparency Assessment System)

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงใช่
ตัวชี้วัดระดับเขตใช่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดใช่
ตัวชี้วัดสำคัญใช่
ตัวชี้วัด Area Baseใช่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลประเมินตนเองเพื่อปรับปรุงและพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานเกิดความโปร่งใส ตรวจสอบได้ตามแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (EBIT) ประเมินตนเองในรอบไตรมาสที่1 รอบ 3 เดือน (เดือนธันวาคมของทุกปี) ไตรมาสที่ 2 รอบ 6 เดือน (เดือนมีนาคมของทุกปี)ไตรมาสที่ 3 รอบ 9 เดือน (เดือนมิถุนายนของทุกปี) และไตรมาสที่ 4 รอบ 12 เดือน(เดือนกันยายนของทุกปี)
ข้อมูล Baseline
 

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2561

2562

2563

ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA

ร้อยละ

95.45

ผ่าน

1,764หน่วยงาน

(1,848 หน่วยงาน)

96.86

ผ่าน

1,792หน่วยงาน

(1,850 หน่วยงาน)

94.38

ผ่าน

1,746

หน่วยงาน

(1,850

หน่วยงาน)

 
เกณฑ์การประเมินผล

 

ปี 2560:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

ระดับขั้นของความสำเร็จ

(ระดับ 5)

75

80

85

 

 

 

 

ปี 2561:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

ระดับขั้นของความสำเร็จ

(ระดับ 5)

80

85

90

 

 

 

 

ปี 2562:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

ระดับขั้นของความสำเร็จ

(ระดับ 5)

80

85

90

 

 

 

 

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

ระดับขั้นของความสำเร็จ

(ระดับ 5)

80

85

90

 

 

 

 

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

ระดับขั้นของความสำเร็จ

(ระดับ 5)

82

87

92

วิธีการประเมินผล

หน่วยงานจำนวน 1,854 หน่วยงาน ประเมินตนเองเพื่อปรับปรุงและพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานเกิดความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ตามแบบประเมินหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based ) ประเมินตนเองในรอบไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 และไตรมาสที่ 4 ดังนี้

การประเมินรอบไตรมาสที่ 1 (ตุลาคม-ธันวาคม ของทุกปี)

Small Success : ประเมินตนเองตามแบบหลักฐานเชิงประจักษ์ ข้อ EB 1–EB 5

ค่าเป้าหมายคือ ระดับ 5 วัดระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone)

เกณฑ์การให้คะแนน : ปรับเกณฑ์การให้คะแนน 5 ระดับ โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้

ระดับ 1            ระดับ 2           ระดับ 3          ระดับ 4         ระดับ 5

1 ข้อ (EB)      2 ข้อ (EB)       3 ข้อ (EB)     4 ข้อ (EB)      5 ข้อ (EB)

ระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) ดังนี้

ระดับคะแนน                                      เกณฑ์การให้คะแนน

       1                         หลักฐานเชิงประจักษ์ประกอบประเด็นการเปิดเผยข้อมูลจำนวน 1 ข้อ (ของ EB1-EB5)

       2                         หลักฐานเชิงประจักษ์ประกอบประเด็นการเปิดเผยข้อมูลจำนวน 2 ข้อ (ของ EB1-EB5)

       3                         หลักฐานเชิงประจักษ์ประกอบประเด็นการจัดซื้อจัดจ้างจำนวน 3 ข้อ (ของ EB1-EB5)

       4                         หลักฐานเชิงประจักษ์ประกอบประเด็นการจัดซื้อจัดจ้างจำนวน 4 ข้อ (ของ EB1-EB5)

       5                         หลักฐานเชิงประจักษ์ประกอบประเด็นการจัดซื้อจัดจ้างจำนวน 5 ข้อ (ของ EB1-EB5)

การประเมินรอบไตรมาสที่ 2 (มกราคม-มีนาคม ของทุกปี)

ประเมินตนเองตามแบบหลักฐานเชิงประจักษ์ทุกข้อ (EB 1- EB 24)

ค่าเป้าหมายคือ ระดับ 3 ร้อยละ 82

เกณฑ์การให้คะแนน ช่วงปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- ร้อยละ 5 ต่อ 1 คะแนน

โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้

ระดับ 1            ระดับ 2           ระดับ 3           ระดับ 4          ระดับ 5

  -                        -                    82                   87                  92

การประเมินรอบไตรมาสที่ 3 (เมษายน-พฤษภาคม ของทุกปี)

ประเมินตนเองตามแบบหลักฐานเชิงประจักษ์ทุกข้อ (EB 1- EB 24)

ค่าเป้าหมายคือ ระดับ 4 ร้อยละ 87

เกณฑ์การให้คะแนน ช่วงปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- ร้อยละ 5 ต่อ 1 คะแนน

โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้

ระดับ 1                  ระดับ 2                 ระดับ 3              ระดับ 4                  ระดับ 5

    -                             -                          82                     87                          92

การประเมินรอบไตรมาสที่ 4 (มิถุนายน-กันยายน ของทุกปี)

ประเมินตนเองตามแบบหลักฐานเชิงประจักษ์ทุกข้อ (EB 1-EB 24)

ค่าเป้าหมายคือ ระดับ 5 ร้อยละ 92

เกณฑ์การให้คะแนน ช่วงปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- ร้อยละ 5 ต่อ 1 คะแนน

โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้

ระดับ 1                ระดับ 2                 ระดับ 3             ระดับ 4              ระดับ 5

    -                           -                         82                      87                       92

เอกสารสนับสนุน

1. แบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Integrity and Transparency Assessment : EBIT) ของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่พัฒนาจากสำนักงาน ป.ป.ช.

2. ระบบ MITAS (MOPH Integrity and Transparency Assessment System)

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

นางสาวทิพยวรรณ  ภูสิงห์ทอง     นักวิเคราะห์นโยบายและแผน

โทรศัพท์ : 0 2590 1330           โทรศัพท์มือถือ : 08 9928 3357

โทรสาร : 02 590 1330           E-mail : mophita2558@gmail.com

สถานที่ทำงาน ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

นางสาวทิพยวรรณ  ภูสิงห์ทอง     นักวิเคราะห์นโยบายและแผน

โทรศัพท์ : 0 2590 1330           โทรศัพท์มือถือ : 08 9928 3357

โทรสาร : 02 590 1330           E-mail : mophita2558@gmail.com

สถานที่ทำงาน ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

นางสาวทิพยวรรณ  ภูสิงห์ทอง     นักวิเคราะห์นโยบายและแผน

โทรศัพท์ : 0 2590 1330           โทรศัพท์มือถือ : 08 9928 3357

โทรสาร : 02 590 1330           E-mail : mophita2558@gmail.com

สถานที่ทำงาน ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base-
Areabase Kpi Regioncode-
หมายเหตุ

ไตรมาสที่ 1 (รอบ 3 เดือน) เป็นระดับความสำเร็จ

Last Update2021-09-13 17:51:31
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>