ร้อยละของหน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายมีมาตรฐานการบริการสุขภาพนักท่องเที่ยวในพื้นที่เกาะตามที่กำหนด
ผลการดำเนินงาน >>ชื่อตัวชี้วัด | ร้อยละของหน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายมีมาตรฐานการบริการสุขภาพนักท่องเที่ยวในพื้นที่เกาะตามที่กำหนด | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
Child KPI | สร้าง KPI ย่อย | |||||||||||||
ปีงบประมาณ | 2564 | |||||||||||||
ระดับตัวชี้วัด | ประเทศ | |||||||||||||
ตัวชี้วัดที่ | 053 | |||||||||||||
Sort Order | 0 | |||||||||||||
คำนิยาม | หน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่เกาะ หมายถึง หน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (รพศ./รพท./รพช./สสอ./รพ.สต.) ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีสภาพพื้นที่เป็นเกาะ ใน 11 จังหวัดของประเทศไทย ได้แก่ จังหวัดกระบี่ จังหวัดชลบุรี จังหวัดตรัง จังหวัดตราดจังหวัดพังงา จังหวัดระนอง จังหวัดระยอง จังหวัดภูเก็ต จังหวัดจันทบุรี จังหวัดสตูล และจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวนทั้งสิ้น 98 แห่ง มาตรฐานการบริการสุขภาพนักท่องเที่ยวในพื้นที่เกาะตามที่กำหนด หมายถึง การจัดระบบบริการสุขภาพที่จำเป็นพื้นฐานให้แก่ประชาชนและนักท่องเที่ยวทางทะเล รวมทั้งการจัดระบบการแพทย์ฉุกเฉินและการส่งต่ออย่างมีคุณภาพ ปลอดภัย ได้มาตรฐาน ครอบคลุมสิทธิประโยชน์ทางการแพทย์และสาธารณสุข โดยมีการดำเนินการ 5 ระดับ ได้แก่ ระดับ 1 มีการแต่งตั้งคณะทำงานการจัดระบบบริการสุขภาพสำหรับการท่องเที่ยวทางทะเล หรือ คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานฯอื่นใดก็ได้ ที่สามารถดำเนินการจัดระบบบริการฯ ได้อย่างสอดคล้องเชื่อมโยงกับบริบทของพื้นที่เกาะ ระดับ 2 หน่วยบริการและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในอำเภอหรือจังหวัดที่มีพื้นที่เกาะ จัดทำแผนบูรณาการร่วมกันให้เกิดการจัดระบบบริการสุขภาพสำหรับการท่องเที่ยวทางทะเล ระดับ 3 หน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายมีระบบการจัดการภัยทางทะเล อาทิเช่น การสัมผัสแมงกะพรุนพิษ การถูกสัตว์ทะเลทำร้าย ภาวะบาดเจ็บจากการจมน้ำ ดำน้ำ (โรคน้ำหนีบ) หรือภัยจากกระแสน้ำดูด เป็นต้น ระดับ 4 หน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายเป้าหมายมีการจัดระบบการแพทย์ฉุกเฉินและการส่งต่อ อาทิเช่น ทางบก ทางน้ำ ทางอากาศ เป็นต้น ระดับ 5 หน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายเป้าหมายมีการจัดระบบตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน อาทิเช่น อุบัติเหตุหมู่ เรือล่ม เป็นต้น และภัยธรรมชาติต่างๆ เช่น สึนามิ น้ำท่วม ดินถล่ม,การควบคุมโรคติดต่อที่มาจากนักท่องเที่ยว เช่น SARS , MERS, COVID-19 เป็นต้น
| |||||||||||||
หน่วยตัวชี้วัด | ร้อยละ | |||||||||||||
หน่วยของค่า A | แห่ง | |||||||||||||
นิยามของค่า A | จำนวนหน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายที่มีมาตรฐานการบริการสุขภาพนักท่องเที่ยวในพื้นที่เกาะตามที่กำหนด | |||||||||||||
หน่วยของค่า B | แห่ง | |||||||||||||
นิยามของค่า B | จำนวนหน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่เกาะ 11 จังหวัด ทั้งสิ้น 98 แห่ง | |||||||||||||
หน่วยของค่า C | ||||||||||||||
นิยามของค่า C | ||||||||||||||
หน่วยของค่า D | ||||||||||||||
นิยามของค่า D | ||||||||||||||
หน่วยของค่า E | ||||||||||||||
นิยามของค่า E | ||||||||||||||
หน่วยของค่า F | ||||||||||||||
นิยามของค่า F | ||||||||||||||
สูตรคำนวนตัวชี้วัด | (A/B)x100 | |||||||||||||
Operator | >= | |||||||||||||
เกณฑ์เป้าหมาย | ร้อยละ 50 | |||||||||||||
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย | หน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เกาะ และหน่วยบริการที่เป็น แม่ข่ายใน 11 จังหวัด จำนวนทั้งสิ้น 98 แห่ง ประกอบด้วย 1. โรงพยาบาลศูนย์ (รพศ.) 2. โรงพยาบาลทั่วไป/โรงพยาบาลชุมชน (รพท. /รพช.) 3. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ (สสอ.) 4. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ในจังหวัด | |||||||||||||
ค่าเป้าหมาย | 50.00 | |||||||||||||
Max Value | 100.00 | |||||||||||||
วิธีการจัดเก็บข้อมูล | หน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายรายงานผลตามแบบฟอร์มการรายงานของกองบริหารการสาธารณสุข เป็นรายไตรมาส | |||||||||||||
แหล่งข้อมูล | 1. หน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่เกาะ 11 จังหวัด ทั้งสิ้น 98 แห่ง 2. กองบริการการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข | |||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง | - | |||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับเขต | - | |||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด | - | |||||||||||||
ตัวชี้วัดสำคัญ | - | |||||||||||||
ตัวชี้วัด Area Base | - | |||||||||||||
Tags | ||||||||||||||
ระยะเวลาการประเมินผล | รายไตรมาส | |||||||||||||
ข้อมูล Baseline |
| |||||||||||||
เกณฑ์การประเมินผล | ปี 2564:
| |||||||||||||
วิธีการประเมินผล | 1. รวบรวมข้อมูล และ วิเคราะห์ผลจากรายงานของหน่วยบริการกลุ่มเป้าหมาย 11 จังหวัด 2. เก็บข้อมูลจากการลงพื้นที่ กำกับติดตาม ตามมติคณะกรรมการ | |||||||||||||
เอกสารสนับสนุน | แบบฟอร์มการรายงานผลของหน่วยบริการกลุ่มเป้าหมาย 11 จังหวัดของกองบริหารการสาธารณสุข | |||||||||||||
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด | 1. นางสาวอรรฉราพรรณ ชมภู่ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ โทรศัพท์ที่ทำงาน. 02 590-2457 โทรศัพท์มือถือ 098-889-9819 โทรสาร : 02-590-1741 E-mail : chompoo9299@gmail.com 2.นางวิราณี นาคสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590-2457 โทรศัพท์มือถือ : 084-539-8474 โทรสาร : 02-590-1741 E-mail : wiranee8711@gmail.com | |||||||||||||
หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง) | กลุ่มงานพัฒนาระบบบริการเฉพาะ กองบริหารการสาธารณสุข
| |||||||||||||
ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน | 1. นายแพทย์สินชัย ตันติรัตนานนท์ ผู้อำนวยการกองบริหารการสาธารณสุข โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590-1755 โทรศัพท์มือถือ : - 2.นางวิราณี นาคสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590-2457 โทรศัพท์มือถือ : 084-539-8474 โทรสาร : 02-590-1741 E-mail : wiranee8711@gmail.com 3. นางสาวอรรฉราพรรณ ชมภู่ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ โทรศัพท์ที่ทำงาน. 02 590-2457 โทรศัพท์มือถือ 098-889-9819 โทรสาร : 02-590-1741 E-mail : chompoo9299@gmail.com | |||||||||||||
รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base | 0 | |||||||||||||
Areabase Kpi Regioncode | 0 | |||||||||||||
หมายเหตุ | ||||||||||||||
Last Update | 2021-10-09 12:34:43 | |||||||||||||
Download |