Refracture Rate น้อยกว่าร้อยละ 20 (ตัวชี้วัดนี้ใช้ได้กรณีที่โรงพยาบาลนั้นทำโครงการมาแล้ว 1 ปี)

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดRefracture Rate น้อยกว่าร้อยละ 20 (ตัวชี้วัดนี้ใช้ได้กรณีที่โรงพยาบาลนั้นทำโครงการมาแล้ว 1 ปี)
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2564
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่039.3
Sort Order0
คำนิยาม

ผู้ป่วย Refracture Prevention คือ ผู้ป่วยทั้งเพศชายและหญิง อายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไปที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลด้วยภาวะกระดูกสะโพกหักจากภยันตรายชนิดไม่รุนแรง (Fragility fracture) ทุกราย

ภยันตรายชนิดไม่รุนแรง (Fragility fracture) หมายถึง แรงกระทำจากการล้ม ในระดับที่น้อยกว่าหรือเทียบเท่าความสูงขณะยืนของผู้ป่วย (Equivalent to fall from height)

ผู้ป่วยที่มีกระดูกหักซ้ำภายหลังกระดูกสะโพกหัก (Refracture) หมายถึง ผู้ป่วย
ที่มีภาวะกระดูกหักในตำแหน่งต่อไปนี้ (กระดูกสันหลัง กระดูกสะโพก กระดูกข้อมือ กระดูกต้นแขน กระดูกปลายต้นขา กระดูกหน้าแข้งส่วนต้น กระดูกข้อเท้า)

จากภยันตรายชนิดไม่รุนแรงภายหลังการรักษาภาวะกระดูกสะโพกหักภายใต้โครงการ Refracture Prevention โดยนับตั้งแต่วันหลังจากกระดูกสะโพกหัก และเข้ารับ

การรักษาเป็นผู้ป่วยในโครงการ Refracture Prevention เป็นต้น

การผ่าตัดแบบ Early surgery หมายถึง ผู้ป่วย Refracture Prevention ที่ได้รับ
การผ่าตัดภายใน 72 ชั่วโมง หลังเข้ารับการรักษาภายในโรงพยาบาลแบบผู้ป่วยใน

กระดูกสะโพกหัก หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับการให้รหัสการบาดเจ็บ ด้วยรหัส

1. Femoral neck                  S72.0

2. Intertrochanter                S72.1

3. Subtrochchanter              S72.2

กระดูกสันหลัง กระดูกต้นแขน กระดูกข้อมือ กระดูกปลายต้นขา กระดูกหน้าแข้งส่วนต้น กระดูกหน้าแข้งส่วนปลาย กระดูกข้อเท้า หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับการให้รหัสการบาดเจ็บด้วยรหัส

1. Compression spine           S22.0 (T-spine)

                                       S32.0 (LS-spine)

                                        S32.7 (multiple LS with pelvis)

2. Humerus                         S42.2 (proximal)

                                         S42.3 (shaft)

                                         S42.4 (distal)

3. Distal radius                    S52.5 (without ulna)

                                         S52.6 (with ulna)

4. Distal femur                    S72.4

5. Proximal tibia                  S82.1

6. Distal tibia and ankle        S82.3 (Plafond)

                                        S82.5 (Medial malledus)

                                        S82.6 (lateral malledus)

                                        S82.8 (lower leg, other)

ผู้ป่วย Refracture Prevention ที่ได้รับการผ่าตัด หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับการให้รหัสหัตถการ  ด้วยรหัส

1. open reduction with internal fixation femur 79.35

2. Close reduction with internal fixation femur 79.15

3. Total hip arthroplasty 81.51

4. Partial hip arthroplasty 81.52

Liaison หมายถึง บุคลากรผู้มีหน้าที่ประสานงาน (Coordinator) ในการดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวมจากทีมสหสาขาวิชาชีพ

เขตสุขภาพที่มีโรงพยาบาลที่มีทีม Refracture Prevention หมายถึง เขตสุขภาพตามการแบ่งส่วนของกระทรวงสาธารณสุข

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aราย
นิยามของค่า Aจำนวนผู้ป่วยในโครงการ Refracture Prevention ที่มีกระดูกหักซ้ำ
หน่วยของค่า Bราย
นิยามของค่า Bจำนวนผู้ป่วยในโครงการ Refracture Prevention ในระยะเวลา 1 ปี
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B) x 100
Operator<
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 20
ประชากรกลุ่มเป้าหมายผู้ป่วยสูงอายุที่มีกระดูกสะโพกหักจากโรคกระดูกพรุน
ค่าเป้าหมาย20.00
Max Value0.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1. โรงพยาบาลจัดเก็บข้อมูลตามระบบโรงพยาบาล

2. ฐานข้อมูลในรูปแบบ Application และเก็บข้อมูลเป็น National Registry

3. การรวบรวมและวิเคราะห์ในระดับเขตสุขภาพที่ 1 – 12

แหล่งข้อมูล

การรวบรวมและวิเคราะห์ในระดับเขตสุขภาพที่ 1 – 12

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลทุกไตรมาส
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2561

2562

2563

ตัวชี้วัด 39.3

ร้อยละ

0.64

1.40

1.29

 

 

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2564

ตัวชี้วัด

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

39.3

< ร้อยละ 20

< ร้อยละ 20

< ร้อยละ 20

< ร้อยละ 20

 

วิธีการประเมินผล
เอกสารสนับสนุน

คู่มือการจัดตั้งทีมและการดำเนินโครงการ Refracture Prevention

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นพ.ชิตวีร์  เจียมตน                          นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2353 9933          โทรศัพท์มือถือ : 08 9127 2932

โทรสาร : 0 2353 9756                      E-mail : jiamond@hotmail.com

โรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย์

2. พญ.ซายน์  เมธาดิลกกุล                  นายแพทย์ชำนาญการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2353 9844          โทรศัพท์มือถือ : 08 1530 0570

โทรสาร : 0 2353 9759                     E-mail : sciorthop@gmail.com

โรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย์

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. กองตรวจราชการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2. กลุ่มงานนิเทศระบบการแพทย์ สำนักนิเทศระบบการแพทย์ กรมการแพทย์

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6358 - 59     โทรสาร : 02 965 9851

E-mail : supervision.dms@gmail.com

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นพ.ชิตวีร์  เจียมตน                          นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2353 9933           โทรศัพท์มือถือ : 08 9127 2932

โทรสาร : 0 2353 9756                        E-mail : jiamond@hotmail.com

โรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย์

2. พญ.ซายน์  เมธาดิลกกุล                   นายแพทย์ชำนาญการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2353 9844           โทรศัพท์มือถือ : 08 1530 0570

โทรสาร : 0 2353 9759                      E-mail : sciorthop@gmail.com

โรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย์

3. นายปวิช อภิปาลกุล                       นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6350          โทรศัพท์มือถือ : 09 8546 3564

โทรสาร : 0 2591 8279                     E-mail: eva634752@gmail.com

กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กรมการแพทย์

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2022-01-20 10:22:21
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>