ร้อยละของผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่ได้รับบริการ ตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค และฟื้นฟูสภาพ ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่ได้รับบริการ ตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค และฟื้นฟูสภาพ ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2564
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่035
Sort Order0
คำนิยาม

1. ผู้ป่วยนอก หมายถึง ประชาชนที่มารับบริการตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค และฟื้นฟูสภาพแบบไม่นอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาล รวมถึงกลุ่มกิจกรรมบริการบุคคล (กลุ่ม I บริการการแพทย์แผนไทย) โดยผู้ประกอบวิชาชีพที่เกี่ยวข้องที่ได้มาตรฐาน เช่น แพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์ แพทย์แผนจีน แพทย์แผนปัจจุบัน พยาบาลวิชาชีพ นักวิชาการสาธารณสุข เป็นต้น

2. การบริการด้านการแพทย์แผนไทย หมายถึง บริการการตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค และฟื้นฟูสภาพ เช่น

          - การรักษาด้วยยาสมุนไพร

          - การปรุงยาแผนไทยสำหรับผู้ป่วยเฉพาะรายของตน หมายถึง การปรุงยาตามองค์ความรู้ สำหรับผู้ป่วยเฉพาะรายของตน โดยผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทย (ประเภทเวชกรรมไทย) หรือสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์

           - ยาแผนไทยที่มีกัญชาปรุงผสม กัญชาทางการแพทย์ หมายถึง สิ่งที่ได้จากการสกัดพืชกัญชา เพื่อนำสารสกัดที่ได้ มาใช้ทางการแพทย์และการวิจัยไม่ได้หมายรวมถึงกัญชาที่ยังคงมีสภาพเป็นพืช หรือส่วนประกอบใดๆ ของพืชกัญชา อาทิ ยอด ดอก ใบ
ลำต้น ราก เป็นต้น

          - การนวดเพื่อการรักษา-ฟื้นฟูสภาพ

          - การประคบสมุนไพรเพื่อการรักษา-ฟื้นฟูสภาพ

          - การอบไอน้ำสมุนไพรเพื่อการรักษา-ฟื้นฟูสภาพ

          - การทับหม้อเกลือ

          - การพอกยาสมุนไพร

          - การนวดเพื่อส่งเสริมสุขภาพ

          - การประคบสมุนไพรเพื่อส่งเสริมสุขภาพ

          - การอบไอน้ำสมุนไพรเพื่อส่งเสริมสุขภาพ

          - การให้คำแนะนำการดูแลสุขภาพด้วยการสอนสาธิตด้านการแพทย์แผนไทย

          - การให้คำแนะนำการดูแลสุขภาพด้วยการสอนสาธิตด้านการแพทย์ทางเลือก

          - การทำหัตถการอื่นๆ ตามมาตรฐานวิชาชีพแพทย์แผนไทย หรือการบริการอื่น ๆ

            ที่มีการเพิ่มเติมรหัสภายหลัง

3. การบริการด้านแพทย์ทางเลือก หมายถึง การบริการรักษาพยาบาล ได้แก่

          - การแพทย์แผนจีน เช่น ฝังเข็ม รมยา ครอบแก้ว/ครอบกระปุก

          - การแพทย์ทางเลือก เช่น สมาธิบำบัด

          หรือการบริการอื่น ๆ ที่มีการเพิ่มเติมรหัสภายหลัง

4. สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข หมายถึง โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สถานีอนามัย สถานบริการสาธารณสุขชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนของโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข

 

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aครั้ง
นิยามของค่า Aจำนวนผู้รับบริการ (ครั้ง) ที่ได้รับการบริการทั้งหมดของสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข รวมถึงกลุ่มกิจกรรมบริการบุคคล (กลุ่ม I บริการการแพทย์แผนไทย)
หน่วยของค่า Bครั้ง
นิยามของค่า Bจำนวนผู้รับบริการ (ครั้ง) ที่ได้รับการบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(B/A)x100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 20.5
ประชากรกลุ่มเป้าหมายประชาชนที่เข้ารับบริการในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ทุกระดับ
ค่าเป้าหมาย20.50
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

รวบรวมข้อมูลจากระบบรายงานมาตรฐาน 43 แฟ้ม กระทรวงสาธารณสุข

แหล่งข้อมูล

43 แฟ้ม (PERSON/PROVIDER/SERVICE/DIAGNOSIS_OPD/DRUG_OPD/ PROCEDURE_OPD/LABOR/ COMMUNITY_SERVICE)

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 4
ข้อมูล Baseline

1. รายละเอียดของผลการดำเนินงาน จำแนกรายระดับสถานบริการ ดังต่อไปนี้

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2561

2562

2563

รพศ./รพท.

ร้อยละ

9.94

9.12

8.97

รพช.

ร้อยละ

16.88

14.69

14.91

รพ.สต.

ร้อยละ

33.32

36.48

35.96

 

2. รายละเอียดการสั่งจ่ายยาปรุงเฉพาะราย จำแนกรายระดับสถานบริการ ดังต่อไปนี้

Baseline data

หน่วยวัด

การสั่งจ่ายยาปรุงเฉพาะราย ปีงบประมาณ พ.ศ.

2563

รพศ./รพท.

ร้อยละ

0.25

รพช.

ร้อยละ

0.68

รพ.สต.

ร้อยละ

0.58

 

3. ประมาณการผลการดำเนินงาน จำแนกรายจังหวัด สามารถแสดงผลได้ดังต่อไปนี้

 

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

ค่าประมาณการผลการผ่านตัวชี้วัด
เมื่อเทียบกับค่าเป้าหมายในปีต่อไปหากใช้กลวิธีดำเนินงานในลักษณะเดิม

พ.ศ. 2564

พ.ศ. 2565

ค่าเป้าหมาย

ร้อยละ 19.5

ร้อยละ 20.5

ร้อยละ 21.5

จังหวัดที่ไม่ผ่าน
ค่าเป้าหมาย (ร้อยละ)

19

(25.00)

31 (40.78)

39 (51.31)

จังหวัดที่ผ่าน
ค่าเป้าหมาย (ร้อยละ)

57

(75.00)

45 (59.21)

37 (48.68)

ที่มา : กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ณ 6 สิงหาคม 2563

เกณฑ์การประเมินผล

เกณฑ์การประเมิน :

ปี 2562:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

1. ชี้แจง และสร้างกลไกการมีส่วนร่วมของ CTMO     ทุกเขตสุขภาพ

2. พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านสาธารณสุข ได้แก่ แพทย์ พยาบาล
สหวิชาชีพ แพทย์แผนไทย ให้มีความรู้ด้านการจัดบริการการแพทย์แผนไทย เพื่อพัฒนาการบริการที่ได้มาตรฐาน

1. สนับสนุนให้มีการจัดบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในระบบบริการสาธารณสุข

2. สถานบริการสาธารณสุข ได้แก่ รพศ.,รพท., รพช. เข้าร่วมโครงการรับรองคุณภาพมาตรฐานงานแพทย์แผนไทย (Hospital Accreditation : TTM HA) ร้อยละ 40

สถานบริการทุกระดับมีการจัดบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสานที่มีคุณภาพมาตรฐาน ตามบริบทของหน่วยบริการ ได้แก่

   - คลินิกครบวงจรด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

   - คลินิก OPD แพทย์แผนไทยคู่ขนาน

1. มีการให้บริการผู้ป่วยนอกด้วยการตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค และฟื้นฟูสภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ร้อยละ 18.5

  1.  

ร้อยละ 6 ของการสั่งใช้ยาทั้งหมด

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

1. มีระบบจัดการยาสมุนไพรในจังหวัด

1.1 มีการประชุมคณะกรรมการเพื่อบริหารยาสมุนไพรของจังหวัด

1.2 มีบัญชียาสมุนไพรของจังหวัด ไม่น้อยกว่า 30 รายการ

1.3 มีการกำหนดยาสมุนไพรทดแทนหรือใช้ยาสมุนไพรเป็นลำดับแรก (First line drug)

1.4 มีแผนงานหรือการจัดสรรเงินสำหรับยาสมุนไพรในจังหวัด

2. พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านสาธารณสุข ได้แก่ แพทย์ พยาบาล

สหวิชาชีพ แพทย์แผนไทย ให้มีความรู้ด้านการจัดบริการการแพทย์แผนไทย เพื่อพัฒนาการบริการที่ได้มาตรฐาน

3. สนับสนุนให้มีการจัดบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในระบบบริการสาธารณสุข

1. ร่วมจัดบริการการแพทย์แผนไทยในคลินิกหมอครอบครัว (PCC) จังหวัดละ 1 แห่ง

2.ส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาสมุนไพรทดแทน ยาแผนปัจจุบัน  หรือการใช้ยาสมุนไพรเป็นลำดับแรก (First Line Drugs) เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 2 รายการ

3. บูรณาการการบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในสถานบริการทุกระดับให้มีการบริการ ตรวจ วินิจฉัย ส่งเสริม รักษาโรคเรื้อรัง เช่น DM, HT, COPD, OA, CVA CA ฯลฯ อย่างน้อย 1 โรค

1. สถานบริการสาธารณสุขระดับ รพศ., รพท., รพช. มีการให้บริการการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก เช่น

  - คลินิกครบวงจร

  - คลินิกเฉพาะโรค

  - การแพทย์แผนจีน

2. จำนวนครั้งของรพ.การแพทย์แผนไทยนำร่อง 19 แห่ง มีการสั่งจ่ายยาปรุงเฉพาะรายเพื่อการรักษาโรค เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 20

1. มีการให้บริการผู้ป่วยนอกด้วยการตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค และฟื้นฟูสภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ร้อยละ 19.5

2. ส่งเสริมให้มีการสั่งจ่ายยาสมุนไพรโดยมีจำนวนครั้งผู้ป่วยนอกที่มีการจ่ายยาสมุนไพรเมื่อเทียบกับจำนวนครั้งของผู้ป่วยนอกที่มีการสั่งจ่ายยาทั้งหมด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 6 (ปี 2562 คิดเป็น ร้อยละ 5.17)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

1. ขับเคลื่อนการประชุม Service Plan สาขาแพทย์แผนไทย ครั้งที่ 1 งานบริการแพทย์แผนไทย สมุนไพร และการใช้ยาตำรับ

2. มีแผนงานโครงการระดับจังหวัดในการพัฒนางานฯ โดยให้สอดคล้องกับแผนของกรมฯ

 

1.ส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาสมุนไพรทดแทน ยาแผนปัจจุบัน หรือการใช้ยาสมุนไพรเป็นลำดับแรก (First Line Drugs) เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 2 รายการ

2. สถานบริการสาธารณสุขระดับ รพศ., รพท., รพช. มีการให้บริการการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก เช่น

  - คลินิกครบวงจร

  - คลินิกเฉพาะโรค

  - การแพทย์แผนจีน

 

1. มีการร่วมให้บริการ ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกแบบผสมผสาน ใน Intermediate care (IMC) จังหวัดละ 1 แห่ง

 

 

1. มีการให้บริการผู้ป่วยนอกด้วยการตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค และฟื้นฟูสภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ร้อยละ 20.5

2. ส่งเสริมให้มีการสั่งจ่ายยาสมุนไพร
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 (จำนวนครั้งของผู้ป่วยนอกที่มีการจ่ายยาสมุนไพรเทียบกับจำนวนครั้งของผู้ป่วยนอกที่มีการสั่งจ่ายยาทั้งหมด)

3. ร้อยละของการสั่งจ่ายยาปรุงเฉพาะรายเพื่อการรักษาโรคเพิ่มขึ้น (จำนวนครั้งของการสั่งจ่ายยาปรุงเฉพาะรายเทียบกับจำนวนครั้งของการจ่ายยาสมุนไพรทั้งหมด)

                                                                                                                          

วิธีการประเมินผล

1. ข้อมูลจาก HDC กระทรวงสาธารณสุข

2. ข้อมูลจากการตรวจราชการและนิเทศงานของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

เอกสารสนับสนุน

1. คู่มือการพัฒนาระบบบริการสาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน

2. คู่มือการตรวจราชการและนิเทศงาน กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นายแพทย์ขวัญชัย วิศิษฐานนท์           ผู้อำนวยการสถาบันการแพทย์แผนไทย

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0-2149-5647      โทรศัพท์มือถือ : 08-4439-1505        

    โทรสาร : 0-2149-5647                 E-mail : khwancha@health.moph.go.th

สถาบันการแพทย์แผนไทย

2. นายแพทย์เทวัญ ธานีรัตน์                ผู้อำนวยการกองการแพทย์ทางเลือก

    โทรศัพท์ที่ทำงาน: 0-2149-5636       โทรศัพท์มือถือ : 08-1872-3270

    โทรสาร : 0-2149-5636                 E-mail : tewantha@gmail.com

กองการแพทย์ทางเลือก

3. นางบุญใจ ลิ่มศิลา                         ผู้อำนวยการสถาบันการแพทย์ไทย-จีน

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0-2591-4409      โทรศัพท์มือถือ : 08-1713-6783

    โทรสาร : -                                 E-mail : boonjai@yahoo.com

สถาบันการแพทย์ไทย-จีน           

4. ดร.รัชนี จันทร์เกษ                         ผู้อำนวยการกองวิชาการและแผนงาน

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0-2149-5649       โทรศัพท์มือถือ : 08-1629-4086

   โทรสาร : 0-2149-5649                  E-mail : iettcm.dtam@gmail.com

กองวิชาการและแผนงาน

5. นายยิ่งศักดิ์ จิตตะโคตร์                   กลุ่มงานสนับสนุนเขตสุขภาพ               

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0-2149-5653       โทรศัพท์มือถือ : 08-9899-8083        

    โทรสาร : -                                  E-mail : ispt.oasp.dtam@gmail.com

กองวิชาการและแผนงาน

6. นางศรีจรรยา โชตึก                       กลุ่มงานยุทธศาสตร์และแผนงาน

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0-2965-9490      โทรศัพท์มือถือ : 09-9245-9791

    โทรสาร : 0-2965-9490                 E-mail : kungfu55@gmail.com

กองวิชาการและแผนงาน

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

กลุ่มงานยุทธศาสตร์และแผนงาน

กลุ่มงานวิชาการและคลังความรู้ 

กองวิชาการและแผนงาน กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

 

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางสาวผุสชา จันทร์ประเสริฐ            แพทย์แผนไทยปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0-2965-9490       โทรศัพท์มือถือ : 06-4323-5939

    โทรสาร : 0-2965-9490                 E-mail : ppin1987@gmail.com

กองวิชาการและแผนงาน กลุ่มงานยุทธศาสตร์และแผนงาน

2. นางสาวกัญณัฏฐ์ อุทุมพร                  นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0-2149-5653        โทรศัพท์มือถือ 08-3622-9351

   โทรสาร : -                                    E-mail : kynfang1989@gmail.com

กองวิชาการและแผนงาน กลุ่มงานสนับสนุนเขตสุขภาพ

3. นายพิสิษฎ์พล นางาม                       นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0-2149-5649        โทรศัพท์มือถือ 087-545-4945

   โทรสาร : 0-2149-5649                    E-mail : iettcm.dtam@gmail.com

กองวิชาการและแผนงาน กลุ่มงานวิชาการและคลังความรู้

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-12-01 10:32:52
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>