อัตราตายทารกแรกเกิดอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดอัตราตายทารกแรกเกิดอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2564
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่033
Sort Order0
คำนิยาม

ทารกแรกเกิด หมายถึง ทารกที่รอดออกมาน้ำหนัก ≥ 500 กรัม มีชีวิตจนถึง 28 วัน
ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (รพศ./รพท./รพช./รพ.สต.)

หน่วยตัวชี้วัดอัตราต่อพันประชากร
หน่วยของค่า Aคน
นิยามของค่า Aจำนวนทารกที่เสียชีวิต ≤ 28 วัน
หน่วยของค่า Bคน
นิยามของค่า Bจำนวนทารกแรกเกิดมีชีพ
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*1000
Operator<
เกณฑ์เป้าหมายลดอัตราตายของทารกแรกเกิดอายุต่ำกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน < 3.6 ต่อ 1,000 ทารกแรกเกิดมีชีพ
ประชากรกลุ่มเป้าหมายทารกที่คลอดและมีชีวิตจนถึง 28 วัน
ค่าเป้าหมาย3.60
Max Value3.60
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1. โรงพยาบาลจัดเก็บข้อมูลตามระบบปกติของโรงพยาบาล และส่งข้อมูลเข้าระบบ Health Data Center (HDC) กระทรวงสาธารณสุข

2. จัดเก็บรวบรวมข้อมูลโดยทีมตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข และกรมการแพทย์

แหล่งข้อมูล

ฐานข้อมูลจากระบบ Health Data Center

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงใช่
ตัวชี้วัดระดับเขตใช่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดใช่
ตัวชี้วัดสำคัญใช่
ตัวชี้วัด Area Baseใช่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 1-4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ.

2561

2562

2563

7

อัตราตายทารกแรกเกิด ต่อ 1,000 ทารกเกิดมีชีพ

4.41

4.52

4.21

HDC: 2 ต.ค. 63 ข้อมูล 12 เขตสุขภาพ

 

เกณฑ์การประเมินผล

ปี2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

< 3.65 ต่อ 1,000

ทารกแรกเกิดมีชีพ

< 3.65 ต่อ 1,000

ทารกแรกเกิดมีชีพ

< 3.60 ต่อ 1,000

ทารกแรกเกิดมีชีพ

 

 

 

 

ปี 2565:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

< 3.55 ต่อ 1,000

ทารกแรกเกิดมีชีพ

< 3.55 ต่อ 1,000

ทารกแรกเกิดมีชีพ

< 3.50 ต่อ 1,000

ทารกแรกเกิดมีชีพ

 

 

 

 

ปี 2566:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

< 3.45 ต่อ 1,000

ทารกแรกเกิดมีชีพ

< 3.45 ต่อ 1,000

ทารกแรกเกิดมีชีพ

< 3.40 ต่อ 1,000

ทารกแรกเกิดมีชีพ

 

วิธีการประเมินผล

1. ประชุมทำความเข้าใจตัวชี้วัด

2. ส่งข้อมูลครบทุกเขตสุขภาพ

3. มีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล

4. มีการสรุปข้อมูล

เอกสารสนับสนุน

1. แนวทางพัฒนาระบบบริการสุขภาพทารกแรกเกิด

2. ยุทธศาสตร์ตัวชี้วัด และแนวทางการจัดเก็บข้อมูล กระทรวงสาธารณสุข

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. ผศ.พิเศษ นพ.วิบูลย์ กาญจนพัฒนกุล     ผู้รับผิดชอบงาน service plan ทารกแรกเกิด

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2354 8928          โทรศัพท์มือถือ : 08 3007 0578

โทรสาร : 0 2354 89439                     E-mail : wiboonkan@gmail.com

สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี กรมการแพทย์

2. ผศ.พิเศษ นพ.ศุภวัชร บุญกษิดิ์เดช       นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2354 8928          โทรศัพท์มือถือ : 08 9890 5919

E-mail : suppawat_yoo@hotmail.com

สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี กรมการแพทย์

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2. สำนักงานบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

3. กลุ่มงานนิเทศระบบการแพทย์ สำนักนิเทศระบบการแพทย์ กรมการแพทย์

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6358 - 59     โทรสาร : 02 965 9851

E-mail : supervision.dms@gmail.com

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. ผศ.พิเศษ นพ.วิบูลย์ กาญจนพัฒนกุล     ผู้รับผิดชอบงาน service plan ทารกแรกเกิด

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2354 8928          โทรศัพท์มือถือ : 08 3007 0578

โทรสาร : 0 2354 89439                     E-mail : wiboonkan@gmail.com

สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี กรมการแพทย์

2. ผศ.พิเศษ นพ.ศุภวัชร บุญกษิดิ์เดช       นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2354 8928          โทรศัพท์มือถือ : 08 9890 5919

E-mail : suppawat_yoo@hotmail.com

สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี กรมการแพทย์

3. นายปวิช อภิปาลกุล                       นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6350          โทรศัพท์มือถือ : 09 8546 3564

โทรสาร : 0 2591 8279                     E-mail: eva634752@gmail.com

กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กรมการแพทย์

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base-
Areabase Kpi Regioncode-
หมายเหตุ
Last Update2022-02-26 16:57:55
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>