ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีการจัดการผ่านระดับ intermediate ทั้ง 5 กลุ่มกิจกรรมสำคัญ

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของโรงพยาบาลที่มีการจัดการผ่านระดับ intermediate ทั้ง 5 กลุ่มกิจกรรมสำคัญ
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2564
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่031.1
Sort Order0
คำนิยาม
  1. โรงพยาบาลที่มีการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพอย่างบูรณาการ เป็นการประเมินระบบของโรงพยาบาล โดยการใช้แบบประเมินตนเอง (self assessment) และรายงานผลการดำเนินงานของทั้ง 5 กิจกรรมสำคัญ ผ่านระบบรายงานกองบริหารการสาธารณสุข ปีละ 2 ครั้ง ผ่านทาง http://203.157.3.54/hssd1/  
  1.  กลไกการจัดการ AMR อย่างบูรณาการ
  2.  การเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการ
  3.  การควบคุมกำกับดูแลการใช้ยาในโรงพยาบาล
  4.  การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
  5.  การวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา และระบบจัดการ AMR  ของโรงพยาบาล และนำไปสู่มาตรการของโรงพยาบาลในการแก้ปัญหา AMR อย่างบูรณาการ
  1. ระดับ intermediate ทั้ง 5 กลุ่มกิจกรรมสำคัญ หมายถึง
  • โรงพยาบาลต้องได้ระดับคะแนนรวมมากกว่า 250 คะแนน จาก 500 คะแนนเต็ม
  • ทั้ง 5 กลุ่มกิจกรรมสำคัญต้องได้คะแนนเกิน 50 % (มากกว่า 50 คะแนน จาก 100

คะแนนเต็ม)

  • โรงพยาบาลต้องผ่านข้อบังคับของระดับ basic ครบทุกข้อ
  1. อัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือด หมายถึง ร้อยละของผู้ป่วยติดเชื้อแบคทีเรีย 8 ชนิดในกระแสเลือด (bacteremia) ที่ติดเชื้อดื้อยา รายละเอียดการดื้อยา ดังนี้

1. Acinetobacter baumannii ดื้อต่อยา Carbapenem หรือ Colistin

2. Pseudomonas aeruginosa ดื้อต่อยา Antipseudomonal penicillin (Piperacillin + Tazobactam) หรือ Carbapenem หรือ Colistin

3. Klebsiella pneumonia ดื้อต่อยา Extended-Spectrum Cephalosporin (Ceftriaxone or Cefotaxime) หรือ Carbapenem (CRE) หรือ Colistin

4. Staphylococcus aureus ที่ดื้อต่อยา Methicillin (MRSA) หรือ Vancomycin (VISA and VRSA)

5. Escherichia coli ดื้อต่อยา Colistin หรือ Carbapenem(CRE) หรือFluoroquinolone (Ciprofloxacin) หรือ Extended-Spectrum Cephalosporin (Ceftriaxone or Cefotaxime)

6. Salmonella spp. ดื้อต่อยา Colistin หรือ Fluoroquinolone (Ciprofloxacin) หรือExtended-Spectrum Cephalosporin (Ceftriaxone or Cefotaxime)

7. Enterococcus faecium ดื้อต่อยา Vancomycin (VRE)

8. Streptococcus pneumonia  ดื้อต่อยา Penicillin (Ampicillin) หรือ Macrolide (Erythromycin) หรือ Extended-Spectrum Cephalosporin (Ceftriaxone or Cefotaxime)

วิธีการคำนวณ                                    

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aแห่ง
นิยามของค่า Aจำนวนโรงพยาบาลที่มีการจัดการ AMR ระดับ intermediate
หน่วยของค่า Bแห่ง
นิยามของค่า Bจำนวนโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 (ปี 64 มีจำนวนรวมทั้งประเทศเท่ากับ 121 แห่ง)
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B) x 100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 70 ของ รพ.มีการจัดการ AMR (ทุกกิจกรรมสำคัญ) ผ่าน ระดับIntermediate
ประชากรกลุ่มเป้าหมายโรงพยาบาลระดับ A, S และ M1
ค่าเป้าหมาย70.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

รายงานกองบริหารการสาธารณสุข

แหล่งข้อมูล

ข้อมูลจากโรงพยาบาล ระดับ A,S,M1

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลทุก 6 เดือน (ประมวลผลโดยตัดข้อมูลผู้ป่วยซ้ำตามปีปฏิทิน) ใช้ข้อมูลอัตราการติดเชื้อ ตรวจราชการ รอบที่ 1 ใช้ข้อมูล ม.ค.–ธ.ค. 63 เทียบกับปีปฏิทิน 61 (ม.ค.–ธ.ค. 61) ตรวจราชการ รอบที่ 2 ใช้ข้อมูล ม.ค.–มิ.ย. 64 เทียบกับปีปฏิทิน 61 (ม.ค.–ธ.ค. 61)
ข้อมูล Baseline

Baseline data (AMR)

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2561

2562

2563

ร้อยละรพ.ที่มีการจัดการอย่างบูรณาการ

ร้อยละ

Basic 88.98

(ผ่านเป้าหมายระดับ basic ร้อยละ ๗๐)

Intermediate 96.64

(ผ่านเกณฑ์เป้าหมาย

ร้อยละ 2๐)

Intermediate 96.69

(ผ่านเกณฑ์เป้าหมาย

ร้อยละ 80)

ร้อยละของผู้ป่วย bacteremia ที่ติดเชื้อดื้อยา

ร้อยละ

อัตราการติดเชื้อดื้อยา ร้อยละ 36.89

 

 

อัตราการติดเชื้อดื้อยา ร้อยละ 36.62

 

 

อัตราการติดเชื้อดื้อยา

ร้อยละ 37.52

 

 

 
 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12เดือน

 

  • ร้อยละ 60 ของรพ.ทั้งหมดผ่านระดับ Intermediate ทุกกิจกรรมสำคัญ
  • อัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือดไม่เพิ่มขึ้นจากปีฐาน (ปีฐาน; ปีปฏิทิน61 = 36.89)

 

  • ร้อยละ 70 ของรพ.ผ่านระดับ Intermediate ทุกกิจกรรมสำคัญ
  • อัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือดไม่เพิ่มขึ้นจากปีฐาน
วิธีการประเมินผล

การรายงาน และการวิเคราะห์เปรียบเทียบผล

เอกสารสนับสนุน

รายการตัวชี้วัดเพื่อประเมินระดับการพัฒนาสู่การเป็นหน่วยบริการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. ภญ.ไพรำ บุญญะฤทธิ์                    เภสัชกรชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901628       โทรศัพท์มือถือ : 092-3953289

    โทรสาร : 02-5901634                  E-mail : praecu@gmail.com

    สำนักบริหารการสาธารณสุข

2. ดร.วันทนา ปวีณกิตติพร                 นักวิทยาศาสตร์การแพทย์เชี่ยวชาญ

     โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-9510000 ต่อ 99302  โทรศัพท์มือถือ : 087-7059541

     โทรสาร : 02-5910343                  E-mail :wantana.p@dmsc.mail.go.th

     กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

4.  นางวราภรณ์ เทียนทอง

     โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5903652  โทรศัพท์มือถือ : 081-3465980

     โทรสาร : 02-5903443            E-mail : varaporn.thientong2@gmail.com

สถาบันบำราศนราดูร

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

กองบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (AMR)

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

ภญ.ไพรำ บุญญะฤทธิ์                    เภสัชกรชำนาญการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901628             โทรศัพท์มือถือ : 092-3953289

โทรสาร : 02-5901634                        E-mail : praecu@gmail.com

กองบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-10-12 14:44:49
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>