ร้อยละของจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2564
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่019
Sort Order0
คำนิยาม

ระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ หมายถึง การค้นหาและประเมินความเสี่ยง และมีกลไกการบริหารจัดการ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ

การขับเคลื่อนการดำเนินงานตัวชี้วัดฯ หมายถึง จังหวัดมีการดำเนินงานจัดการปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพตามเกณฑ์การประเมินที่สัมพันธ์กับการบ่งชี้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพในพื้นที่

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aจังหวัด
นิยามของค่า A จำนวนจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก
หน่วยของค่า Bจังหวัด
นิยามของค่า Bจำนวนจังหวัดทั้งหมด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 60 ของจังหวัดผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย76 จังหวัด
ค่าเป้าหมาย60.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามเกณฑ์ตัวชี้วัด และรายงาน
   ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดในระบบ Google Form เป็นรายไตรมาส

2. ศูนย์อนามัยและสำนักป้องกันควบคุมโรค ดำเนินการตรวจประเมินเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพและนำข้อมูลจากระบบ Google Form มาวิเคราะห์ GAP ภาพรวมเขตสุขภาพ รวมทั้งจัดทำแผนปิด GAP ในปีถัดไป พร้อมจัดส่งให้กรมอนามัยและกรมควบคุมโรค

3. กรมอนามัยและกรมควบคุมโรค วิเคราะห์ข้อมูลฯ ระดับประเทศ และจัดทำเป็นรายงาน
    สรุปผลการดำเนินงานฯ รายไตรมาส

4. กรมอนามัย จัดส่งรายงานผลการดำเนินงานฯ กระทรวงสาธารณสุข   

แหล่งข้อมูล

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงใช่
ตัวชี้วัดระดับเขตใช่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดใช่
ตัวชี้วัดสำคัญใช่
ตัวชี้วัด Area Baseใช่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลรายไตรมาส รอบ 3, 6, 9 และ 12 เดือน
ข้อมูล Baseline
 

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2561

2562

2563

ร้อยละของจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ

ร้อยละ

 

65.79

(50 จังหวัด)

 

ณ 11 ก.ย.61

60.53

 (46 จังหวัด)

 

ณ 13 ก.ย.62

92.11

 (70 จังหวัด)

 

ณ 9 ก.ย. 63

เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2560:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมีแผนปฏิบัติการเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ

ร้อยละ 60 ของจังหวัด            มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง  จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ  ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน (จังหวัดประเมินตนเอง)

ร้อยละ 75 ของจังหวัด              มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง             จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ  ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน (ประเมินโดย ศอ. และ สคร.)

ร้อยละ 90 ของจังหวัด            มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ  ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน (ประเมินโดย ศอ. และ สคร.)

 

 

 

 

 

 

 

ปี 2561:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมีแผนปฏิบัติการเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ

ร้อยละ 60 ของจังหวัด            มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง  จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ  ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน (จังหวัดประเมินตนเอง)

ร้อยละ 75 ของจังหวัด              มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง             จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ  ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน (ประเมินโดย ศอ. และ สคร.)

ร้อยละ 90 ของจังหวัด            มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ  ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน (ประเมินโดย ศอ. และ สคร.)

 

 

 

 

 

 

 

ปี 2562:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ร้อยละ 100 ของจังหวัด           มีแผนปฏิบัติการ/มีการชี้แจงแนวทางการดำเนินงานฯ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ แก่หน่วยงานสาธารณสุข องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น และหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่

ร้อยละ 40 ของจังหวัด                มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน           

ร้อยละ 70 ของจังหวัด             มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน           

ร้อยละ 100 ของจังหวัด              มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน           

 

 

 

 

 

 

 

 

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ร้อยละ 60 ของจังหวัด    มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ       ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน          

ร้อยละ 100 ของจังหวัด    มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ       ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน          

ร้อยละ 60 ของจังหวัด    มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ       ผ่านเกณฑ์ระดับดี          

ร้อยละ 80 ของจังหวัด    มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ        ผ่านเกณฑ์ระดับดี              

 

 

 

 

 

 

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ร้อยละ 100 ของจังหวัด     มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ       ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน              

ร้อยละ 50 ของจังหวัด     มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ        ผ่านเกณฑ์ระดับดี             

ร้อยละ 40 ของจังหวัด     มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ       ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก

ร้อยละ 60 ของจังหวัด     มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ       ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก

 

วิธีการประเมินผล

1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ทำการประเมินตนเองและรายงานผลในระบบ Google Form

2. ศูนย์อนามัยและสำนักงานป้องกันควบคุมโรค

     2.1 ทำการทวนสอบและวิเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัดที่รับผิดชอบ

     2.2 ประเมินผลการดำเนินงานของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัดทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ (ตามแบบฟอร์มที่กำหนด)

     2.3 จัดทำสรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดฯ ภาพรวมของเขต

3. กรมอนามัยและกรมควบคุมโรค สุ่มประเมินเชิงคุณภาพ และจัดทำสรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดฯ ภาพรวมของประเทศ

เอกสารสนับสนุน

1. ระบบสารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย (NEHIS) และคู่มือการใช้งานฯ

2. แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยง

3. Platform THAI STOP COVID กรมอนามัยและวิธีการใช้งานเพื่อประเมินการดำเนินงาน
   ของสถานประกอบการตามมาตรการเพื่อลดการแพร่ระบาด COVID-19
   https://stopcovid.anamai.moph.go.th/

4. สื่อ คู่มือแนวทางปฏิบัติงานสำหรับฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด
    คณะกรรมการสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร และคณะกรรมการเปรียบเทียบตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข

5. โปรแกรมกำกับติดตามรายงานผลการดำเนินงานของคณะกรรมการตามกฎหมาย
    ว่าด้วยการสาธารณสุข

6. หลักสูตรออนไลน์อบรมให้ความรู้ด้านการบังคับใช้กฎหมายและการยกร่างข้อบัญญัติท้องถิ่นตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข

7. เกณฑ์คุณภาพน้ำประปาดื่มได้ กรมอนามัย พ.ศ. 2563   http://foodsan.anamai.moph.go.th/ewt_dl_link.php?nid=4113&filename=water_index18

8. เกณฑ์เสนอแนะคุณภาพน้ำบริโภคเพื่อการเฝ้าระวัง กรมอนามัย พ.ศ. 2563   http://foodsan.anamai.moph.go.th/ewt_dl_link.php?nid=4112&filename=water_index18

9. คู่มือ การประเมินรับรองมาตรฐานคุณภาพน้ำประปาหมู่บ้าน พ.ศ.2563
    http://foodsan.anamai.moph.go.th/download/0FS_S2563/FD_WaterQuality/2563/
     คู่มือรับรองประปาหมู่บ้าน.pdf

10. คู่มือ การดำเนินงานเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภคในครัวเรือน       http://foodsan.anamai.moph.go.th/download/0FS_S2563/FD_WaterQuality/2563/
     คู่มือการเฝ้าระวังน้ำครัวเรือน.pdf

11. กฎกระทรวง สุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ. 2561
     http://foodsan.anamai.moph.go.th/main.php?filename=Law_61

     คู่มือ_การดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารตามกฎกระทรวงสุขลักษณะของสถานที่จำหน่าย
     อาหาร พ.ศ.2561

       http://foodsan.anamai.moph.go.th/ewt_dl_link.php?nid=2450&filename=Law_61

12. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์การอบรมผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหาร พ.ศ. 2561

      คู่มือการดำเนินการของหน่วยงานจัดอบรมตามประกาศอบรมผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหาร         http://foodsan.anamai.moph.go.th/ewt_dl_link.php?nid=3049&filename=Law_61

      คู่มือวิชาการประกอบการอบรม หลักสูตรการอบรมผู้ประกอบกิจการ หลักสูตรการอบรมผู้สัมผัส
        อาหาร  http://foodsan.anamai.moph.go.th/main.php?filename=Law_61

13. กฎกระทรวงฯ ว่าด้วยสุขลักษณะของตลาด พ.ศ.2551

     คู่มือตลาดนัดน่าซื้อ        http://foodsan.anamai.moph.go.th/ewt_dl_link.php?nid=1798&filename=media2018_2

14. แนวทางการดำเนินงานพัฒนาอาหารริมบาทวิถี Street Food Good Health        http://foodsan.anamai.moph.go.th/ewtadmin/ewt/foodsan/main.php?filename=street_imp

15. แนวทางการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
     http://foodsan.anamai.moph.go.th/main.php?filename=evaluation_form

16. ระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม
     http://eha.anamai.moph.go.th/

17. แนวทางการดำเนินงานจัดทำข้อมูลพื้นฐานด้านอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม

     (Occupational and Environmental Health Profile:  OEHP)
     http://envocc.ddc.moph.go.th/p/oehp

18. เกณฑ์สำหรับการรายงานเหตุการณ์และการออกดำเนินการสอบสวนโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมกรณีเหตุการณ์ที่มีความสำคัญสูง (DCIR)

19. แนวทางการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมสำหรับโรงพยาบาล

20. คู่มือการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัยและประเมินความเสี่ยงต่อ
     สุขภาพในพื้นที่เสี่ยง

21. พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2562
      http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/A/067/T_0215.PDF

22. แนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานผ่านกลไกคณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อมจังหวัด คณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อมกรุงเทพมหานคร ภายใต้พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2562

  https://drive.google.com/open?id=1SMa8RdPlgZ-dQnMgmlARebCjVoTyuAjw

23. แนวทางการสอบสวนโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
     http://envocc.ddc.moph.go.th/contents/view/461

24. คู่มือการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Environmental Health Accreditation: EHA)

25. แนวปฏิบัติการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม สำหรับบุคลากรสาธารณสุข (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2559) http://envocc.ddc.moph.go.th/contents/view/462

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ

1. นางสุธิดา  อุทะพันธุ์                        นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ    

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5904383        โทรศัพท์มือถือ :  063-4515644

    โทรสาร : 02-5904379                     E-mail : sutida.u@anamai.mail.go.th

    สถานที่ทำงาน กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ  กรมอนามัย 

2. นางสาวนวรัตน์  อภิชัยนันท์               นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5904317        โทรศัพท์มือถือ :  062-6404442

    โทรสาร : 02-5904321                     E-mail : nawarat.t@anamai.mail.go.th

    สถานที่ทำงาน สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม  กรมอนามัย

3. นายพลากร จินตนาวิวัฒน์                 นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5904219        โทรศัพท์มือถือ : 084-8289950

    โทรสาร : 02-5918180                     E-mail : palakorn.c@anamai.mail.go.th

    สถานที่ทำงาน ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข  กรมอนามัย

 

4. นางสาววราภรณ์ ถาวรวงษ์                นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-590-4605       โทรศัพท์มือถือ : 061-6354194

    โทรสาร : 02-590-4188                    E-mail : waraporn.r@anamai.mail.go.th

    สถานที่ทำงาน สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย 

5. นางสาวปวริศา ดิษยาวานิช               นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-590-4174      โทรศัพท์มือถือ :  085-5143891

    โทรสาร : 02-590-4188                   E-mail : pawarisa.d@anamai.mail.go.th

    สถานที่ทำงาน สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย 

6. แพทย์หญิงนางสาวสุมนี วัชรสินธุ์                นายแพทย์เชี่ยวชาญ รองผู้อำนวยการ (ด้านบริหาร)

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5903865-66   โทรศัพท์มือถือ : 081-8806629

    โทรสาร : 02-5903866                    E-mail : chuleekorn.md@gmail.com

    สถานที่ทำงาน กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค

7. นางสาวภัทรินทร์ คณะมี                  นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5903865-66   โทรศัพท์มือถือ : 081-8147154

    โทรสาร : 02-5903866                    E-mail : k.pattarin@gmail.com

    สถานที่ทำงาน กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค

ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นางสาวนาฎอนงค์ เจริญสันติสุข          นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ  

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5904384        โทรศัพท์มือถือ :  089-8066162

    โทรสาร : 02-5904356                     E-mail : nardanongc@hotmail.com

    สถานที่ทำงาน กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ  กรมอนามัย 

2. นางสาวโศรยา ชูศรี                          นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5904626         โทรศัพท์มือถือ : 082-8100058

    โทรสาร : 02-5904356                      E-mail : so_z_aa@hotmail.com 

    สถานที่ทำงาน กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ  กรมอนามัย  

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. นางสาวโศรยา ชูศรี                         นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5904626        โทรศัพท์มือถือ : 082-8100058

    โทรสาร : 02-5904356                     E-mail : so_z_aa@hotmail.com 

    สถานที่ทำงาน กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ  กรมอนามัย  

2. นางสาวธิดารัตน์ คำแหงพล               นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5903865-66   โทรศัพท์มือถือ : 087-4929247

    โทรสาร : 02-5903866                    E-mail : gibthida.k@gmail.com

    สถานที่ทำงาน กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค

3. นางสาวทิตย์ติยา มั่งมี                      นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5903865-66    โทรศัพท์มือถือ : 086-9957094

    โทรสาร : 02-5903866                     E-mail : tidtiya.mm@gmail.com

    สถานที่ทำงาน กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางสาวโศรยา ชูศรี                         นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5904626        โทรศัพท์มือถือ : 082-8100058

    โทรสาร : 02-5904356                     E-mail : so_z_aa@hotmail.com 

    สถานที่ทำงาน กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ  กรมอนามัย  

2. นางสาวธิดารัตน์ คำแหงพล               นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5903865-66   โทรศัพท์มือถือ : 087-4929247

    โทรสาร : 02-5903866                    E-mail : gibthida.k@gmail.com

    สถานที่ทำงาน กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base-
Areabase Kpi Regioncode-
หมายเหตุ
Last Update2021-10-11 16:26:08
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>