ระดับความสำเร็จในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขของหน่วยงานระดับจังหวัด

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดระดับความสำเร็จในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขของหน่วยงานระดับจังหวัด
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2564
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่011
Sort Order0
คำนิยาม

 

1. ระดับความสำเร็จในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขของหน่วยงานระดับจังหวัด หมายถึง จังหวัดมีการดำเนินงานเพื่อจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ประกอบด้วย
3 กระบวนการ คือ

1) มีการเตรียมความพร้อมเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉินโดย

   1.1 มีโครงสร้าง ICS สำหรับรองรับทุกภัย (All Hazards)

   1.2 ความสำเร็จของจังหวัดในการดำเนินงานและประเมินตนเองตามแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินสำหรับหน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัดและระดับเขต (EOC assessment tool 2019) ซึ่งประกอบด้วย 10 หมวด คือ

   หมวดที่ 1 : บริบท                                             

   หมวดที่ 2 : ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน

   หมวดที่ 3 : กรอบโครงสร้างการทำงาน

   หมวดที่ 4 : ระบบข้อมูล

   หมวดที่ 5 : Critical Information

   หมวดที่ 6 : Incident management and response

   หมวดที่ 7 : การสื่อสารความเสี่ยง (Risk communication) และการเตือนภัย

   หมวดที่ 8 : การสื่อสารภายใน (หมายถึง การสื่อสารภายในระบบ ICS)

   หมวดที่ 9 : Coordination and logistical support of field operations

   หมวดที่ 10 : Training, Exercise and Evaluation       

2) จังหวัดมีความพร้อมในการเผชิญเหตุเพื่อรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข โดยทุกจังหวัดมีแผนเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขที่เตรียมไว้ ได้แก่ แผนปฏิบัติการควบคุมทุกโรคและภัยสุขภาพ แผน แนวทาง หรือคู่มือปฏิบัติการที่เตรียมไว้ล่วงหน้าสำหรับการตอบโต้สถานการณ์โรคหรือภัยสุขภาพที่จำเพาะ แผนระดมสรรพกำลัง แผนปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน และดำเนินการซ้อมแผนอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี ดังนี้

      2.1 แผนเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับภัยจากโรคติดเชื้อ (Biological Event) สถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และดำเนินการฝึกซ้อมแผนตามแผนปฏิบัติการเพื่อรองรับสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างน้อย 1 ครั้ง (ภายในไตรมาสที่ 1 ตาม House Model Quick win) พร้อมทั้งมีการทบทวนสรุปบทเรียนที่ได้จากการซ้อมแผนดังกล่าว

      2.2 แผนเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับภาวะฉุกเฉิน อาทิ (ภัยจากสารเคมี (Chemical Event) ภัยจากรังสี (Radiological Event) ภัยจากธรรมชาติ(Natural /Environment /Disaster Event) และภัยจากอุบัติเหตุ/การบาดเจ็บ และการก่อการร้าย/วินาศกรรม (Explosion / Trauma Event)) โดยจังหวัดต้องวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง ผลกระทบทางด้านภัยสุขภาพจากสาธารณภัยที่เคยเกิดขึ้นในพื้นที่หรือภัยมีความเสี่ยงสูงสุดและดำเนินการฝึกซ้อมแผนจัดการภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุขที่เป็นการตอบสนองต่อเหตุการณ์ในระดับจังหวัดอย่างน้อย 1 ครั้ง พร้อมทั้งมีการทบทวนสรุปบทเรียนที่ได้จากการซ้อมแผนดังกล่าว

3) จังหวัดประสบความสำเร็จในการดำเนินงานตาม House model COVID-19 ได้แก่

    - มีทีม CDCU

    - มีห้องปฏิบัติการคุณภาพ

    - มีระบบ Quarantine คุณภาพ

    - ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพจิตได้อย่างมีคุณภาพ

    - ประชาชนปฏิบัติตามมาตรการ DMH ในเกณฑ์ที่พึงประสงค์

2. โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โรคโควิด 19) หมายถึง การติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทั้งที่มีอาการและไม่มีอาการ โดยมีผลตรวจทางห้องปฏิบัติการยืนยันเป็นบวก

3. โรคและภัยสุขภาพ ภัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพประกอบด้วย 5 ชนิด คือ ภัยจากโรคติดเชื้อ (Biological Event) ภัยจากสารเคมี (Chemical Event) ภัยจากรังสี (Radiological Event) ภัยจากธรรมชาติ (Natural/Environment/Disaster Event) และภัยจากอุบัติเหตุ/การบาดเจ็บ และการก่อการร้าย/วินาศกรรม (Explosion / Trauma Event)

4. หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) เพิ่ม 3 เท่า (surge capacity) หมายถึง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัดจัดตั้งทีมปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อเพิ่มจาก 1 ทีมต่ออำเภอ เป็น 3 ทีมต่ออำเภอ

5. ห้องปฏิบัติการทุกจังหวัดสามารถแจ้งผลตรวจการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ใน
1 วัน
หมายถึง จำนวนห้องปฏิบัติการตรวจเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ที่สามารถแจ้งผลตรวจการติดเชื้อ ได้ใน 1 วัน

ยกเว้น

1) กรณีผลกำกวม อาจมีการส่งต่อห้องปฏิบัติการอื่น ซึ่งจะใช้เวลามากกว่า 24 ชั่วโมง โดยมีการประสานรายงานเบื้องต้นไปก่อน

2) กรณีเฝ้าระวังหรือการตรวจตามนโยบายอื่นๆ ที่ส่งผลให้มีจำนวนตัวอย่างมาครั้งละมากๆ

เกินขีดความสามารถในการบริการปกติ

6. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าถึงบริการสุขภาพจิต หมายถึง ผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิต ประกอบด้วย 1) ผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และสมาชิกในครอบครัว   2) ผู้ถูกกักกันในสถานกักกันของรัฐเป็นหลัก (SQ, LQ)  3) กลุ่มเปราะบางทางสังคม ได้แก่ ผู้ป่วยจิตเวชเดิม ผู้ได้รับผลกระทบทางเศรษฐกิจ คือกลุ่มตกงาน และกลุ่ม SMEs  4) กลุ่มบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ได้รับการประเมิน/คัดกรองปัญหาสุขภาพจิต ใน 4 ประเด็น (StB SuD) ได้แก่ ภาวะเครียด (Stress) ภาวะเหนื่อยล้าหมดไฟ (Burnout) ความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย (Suicide) และภาวะซึมเศร้า (Depress) ผ่านโปรแกรม Mental Health Check-in โดยมีการดำเนินการคัดกรอง ดูแลให้การช่วยเหลือเบื้องต้นในประชาชนกลุ่มเสี่ยงดังกล่าว  หากพบว่ามีความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต ต้องได้รับการติดตามดูแลช่วยเหลือเยียวยาจิตใจเบื้องต้น เช่น การให้สุขภาพจิตศึกษา การปฐมพยาบาลทางใจ การให้คำปรึกษา เป็นต้น โดยมีช่องทางการให้คำปรึกษาทั้งระบบออนไลน์และระบบปกติ ซึ่งจัดลำดับความสำคัญแต่ละกลุ่มสอดคล้องกับสถานการณ์การระบาด 3 ระยะ ตามที่กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้คาดการณ์ไว้ ได้แก่

     ระยะที่ 1 พบผู้ป่วยเดินทางมาจากประเทศที่มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

     ระยะที่ 2 พบผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ภายในประเทศ และมีการระบาดในวงจำกัด

     ระยะที่ 3 พบการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในวงกว้าง ในประเทศไทย

7. ระบบกักกันโรค (Quarantine) ที่ได้มาตรฐานทุกจังหวัด หมายถึง สถานที่เอกเทศทุกประเภทที่จัดตั้งขึ้นหรือระบุให้เป็นสถานที่ในการกักกันผู้ที่มีเหตุอันควรสงสัยว่ามีการติดเชื้อหรือมีการสัมผัสหรือเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง โดยปฏิบัติตามมาตรการในการควบคุมและป้องกันโรคที่กรมควบคุมโรคและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นผู้กำหนดและผ่านการรับรองโดยคณะทำงานด้านวิชาการภายใต้คณะกรรมการโรคติดแห่งต่อชาติ

8. ประชาชนสวมหน้ากาก หมายถึง ประชาชนที่อยู่ในราชอาณาจักรไทยสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยเมื่ออยู่ในสถานที่ที่มีคนรวมตัวกัน/สถานที่แออัด เพื่อป้องกันโรคโควิด 19 มากกว่าร้อยละ 85

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aจังหวัด
นิยามของค่า Aจำนวนจังหวัด ที่ดำเนินการครบ 4 ขั้นตอน จากวิธีการประเมินผล
หน่วยของค่า Bจังหวัด
นิยามของค่า Bจำนวนจังหวัดทั้งหมด 76 จังหวัด และกรุงเทพมหานคร
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)x100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 75 (57 จังหวัด)
ประชากรกลุ่มเป้าหมายสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด จำนวน 76 จังหวัด และกรุงเทพมหานคร
ค่าเป้าหมาย75.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

กองสาธารณสุขฉุกเฉินประสานและรวบรวมข้อมูลผลการดำเนินงานจาก 76 จังหวัด กรุงเทพมหานคร และจากกรมวิชาการต่างๆ

แหล่งข้อมูล

 

1. ข้อมูลจากผลการดำเนินงานในระดับจังหวัด ได้แก่

  1) ข้อมูลโครงสร้าง ICS สำหรับรองรับทุกภัย (All Hazards) ตามรูปแบบของกระทรวงสาธารณสุข

  2) ข้อมูลการการดำเนินงานของจังหวัด โดยจังหวัดประเมินตนเองตามแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินสำหรับหน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัดและระดับเขต (EOC assessment tool 2019) ผ่านทางเว็บไซต์ https://ddc.moph.go.th/ddce/newspic.php หรือ เว็บไซต์กองสาธารณสุขฉุกเฉิน website: https://pher.moph.go.th/wordpress/8-5-63/ ซึ่งทางกองสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จะเก็บรวบรวมข้อมูลจากกองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค

  3) แผนเตรียมความพร้อมเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์แพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 รวมถึงมีการซ้อมแผนภายในไตรมาสที่ 1 และมีการทบทวนแผนเพื่อการเตรียมความพร้อมในการเผชิญเหตุที่มีประสิทธิภาพ โดยรายงานตามแบบฟอร์มที่กำหนด ซึ่งกองสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จะเก็บรวบรวมข้อมูล

  4) แผนเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับภาวะฉุกเฉินตามความเสี่ยงของพื้นที่และฝึกซ้อมแผนจัดการภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุขที่เป็นการตอบสนองต่อเหตุการณ์ในระดับจังหวัดซึ่งกองสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จะเก็บรวบรวมข้อมูล

  5) จังหวัดดำเนินงานตาม House model COVID-19 และกองสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จะประสานหน่วยงานส่วนกลางที่เกี่ยวข้องระดับกระทรวงฯ เพื่อรวบรวมข้อมูล ได้แก่

     5.1 กรมควบคุมโรค:

         5.1.1 กองระบาดวิทยา และสำนักงานเลขานุการ พ.ร.บ.โรคติดต่อ กองโรคติดต่อทั่วไป (ส่วนกลาง: กองระบาดวิทยาและกองโรคติดต่อทั่วไป, จังหวัด: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด)

                  5.1.1.1 หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) เพิ่ม 3 เท่า ใช้แหล่งข้อมูลจากเว็บไซต์ Implementation Monitoring System กรมควบคุมโรค(https://ims.ddc.moph.go.th/index.php)

        5.1.2 กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน

                  5.1.2.1 ข้อมูลผลการตรวจเยี่ยมและติดตามกำกับเชิงคุณภาพของการดำเนินภารกิจการกักกัน เพื่อป้องกันและควบคุมโรค 

    5.2 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์:

        5.2.1 ระบบ CO-LAB

        5.2.2 สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข (หลัก)

        5.2.3 กองการแพทย์จีโนมิกส์และสนับสนุนนวัตกรรม

        5.2.4 ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ทุกแห่ง

     5.3 กรมอนามัย:

       ศูนย์อนามัยทั้ง 12 เขตและสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง ร่วมกับภาคีเครือข่ายดำเนินการสำรวจพฤติกรรมการสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยของประชาชนผ่านระบบออนไลน์

     5.4 กรมสุขภาพจิต:

      ข้อมูลการการดำเนินงานของจังหวัด โดยศูนย์สุขภาพจิตที่ 1-13 และสถาบัน/โรงพยาบาลจิตเวช ในสังกัดกรมสุขภาพจิตที่รับผิดชอบในเขตสุขภาพเดียวกัน มีการร่วมกันดำเนินงานกับหน่วยงานในเขตสุขภาพ  ซึ่งกองบริหารระบบบริการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต จะเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ผลการดำเนินงานจากโปรแกรม Mental Health Check-inและฐานข้อมูลผู้ที่มีความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 1 – 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ

2561

2562

2563

ระดับความสำเร็จในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขของหน่วยงานระดับจังหวัด

ระดับ

-

-

ระดับ 5

(43 จังหวัด)

 
 
เกณฑ์การประเมินผล

ที่

เป้าหมาย/ตัวชี้วัด

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

1

การเตรียมความพร้อมเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน

1.1 โครงสร้าง ICS สำหรับรองรับทุกภัย (All Hazards)

1.2 จังหวัดประเมินตนเองตามแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินสำหรับหน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัดและระดับเขต (EOC assessment tool 2019)

 

 

 

2

จัดทำแผนเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019  และฝึกซ้อมแผนตามแผนปฏิบัติการเพื่อรองรับสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

 

 

 

 

 

 

 

3

จัดทำแผนเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับภาวะฉุกเฉินตามความเสี่ยงของพื้นที่และฝึกซ้อมแผนจัดการภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุขที่เป็นการตอบสนองต่อเหตุการณ์ในระดับจังหวัด

 

4

ดำเนินการตามกิจกรรมภายใต้แผนงานรองรับนโยบายมุ่งเน้นของกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (House Model) 5 ประเด็น

4.1

หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) ของจังหวัดและกรุงเทพมหานคร เพิ่ม 3 เท่า

 

 

 

4.2

ห้องปฏิบัติการทุกจังหวัดสามารถแจ้งผลตรวจการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ใน 1 วัน

 

4.3

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าถึงบริการสุขภาพจิต ร้อยละ 50

 

 

 

4.4

ระบบกักกันโรค (Quarantine) ที่ได้มาตรฐานทุกจังหวัด

 

 

 

4.5

ประชาชนสวมหน้ากากมากกว่าร้อยละ 85

จังหวัด : รอบ 3 เดือน

ที่

ตัวชี้วัด

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

4 คะแนน

5

คะแนน

1.

การเตรียมความพร้อมเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน

1.1 โครงสร้าง ICS สำหรับรองรับทุกภัย (All Hazards)

1.2 จังหวัดประเมินตนเองตามแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินสำหรับหน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัดและระดับเขต (EOC assessment tool 2019)

โครงสร้างมาตรฐานเดียวกับ สธ.

มีการปรับปรุง(Update)

 

ประเมินครบ 5หมวด

ประเมินครบ 8 หมวด

ประเมินครบ 10 หมวด

2.

จัดทำแผนเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และฝึกซ้อมแผนตามแผนปฏิบัติการเพื่อรองรับสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

 

ประเมินศักย

ภาพระดับพื้นที่

ระบุกิจกรรมที่มีความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาด

มีแผน

ปฏิบัติ

การเพื่อรองรับกิจกรรมที่มีความเสี่ยง

ฝึกซ้อมแผน

ตามแผนปฏิบัติ การที่เตรียมไว้

มีการทบทวนหลังซ้อมแผน

 

 

 

 

3.

ดำเนินการตามกิจกรรมภายใต้แผนงานรองรับนโยบายมุ่งเน้นของกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (House Model) 5 ประเด็น

3.1

หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) ครบ 3 ทีม

-

1 ทีม

-

2 ทีม

  • 3ทีม

3.2

จังหวัดที่มีการบริหารจัดการสถานที่กักกัน (Quarantine) ได้มาตรฐานและเหมาะสมกับสถานการณ์ของจังหวัด

-

-

ประเมินและจัดตั้งสถานที่กักกันฯ

ติดตามประเมินสถานที่กักกันฯรอบ 2 ผ่านเกณฑ์มาตรฐานมากกว่าร้อยละ 50

ติดตามประเมินสถานที่กักกันฯรอบ 2 ผ่านเกณฑ์มาตรฐานทุกหมวด

 

 

 

 

จังหวัด : รอบ 6 เดือน

ที่

ตัวชี้วัด

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

4 คะแนน

5

คะแนน

1

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าถึงบริการสุขภาพจิต ร้อยละ 50

≤ร้อยละ 19

ร้อยละ 20

ร้อยละ 30

ร้อยละ 40

ร้อยละ 50

จังหวัด : รอบ 6, 9 และ 12 เดือน

ที่

ตัวชี้วัด

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

4 คะแนน

5

คะแนน

1

จัดทำแผนเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับภาวะฉุกเฉินตามความเสี่ยงของพื้นที่และฝึกซ้อมแผนจัดการภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุขที่เป็นการตอบสนองต่อเหตุการณ์ในระดับจังหวัด

ประเมินความเสี่ยง

ระบุความเสี่ยงที่สำคัญสูงสุด

มีแผน

ปฏิบัติ

การเพื่อรองรับกิจกรรมที่มีความเสี่ยง

ฝึกซ้อมแผน

ตามแผนปฏิบัติการที่เตรียมไว้

มีการทบทวนหลังซ้อมแผน

2

ห้องปฏิบัติการทุกจังหวัดสามารถแจ้งผลตรวจการติดเชื้อไวรัส

โคโรนา 2019 ได้ใน 1 วัน

≤ร้อยละ 50

ร้อยละ 60

ร้อยละ 70

ร้อยละ 80

≥ร้อยละ 90

3

ประชาชนสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย

<ร้อยละ 75

≥ร้อยละ 75

≥ร้อยละ 80

≥ ร้อยละ 85

≥ ร้อยละ 90

 

วิธีการประเมินผล

ขั้นตอนที่

รายละเอียดการดำเนินการ

เอกสาร/หลักฐาน ประกอบการประเมินผล

1

การเตรียมความพร้อมเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน

1.1 โครงสร้าง ICS สำหรับรองรับทุกภัย (All Hazards)

1.2 จังหวัดประเมินตนเองตามแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินสำหรับหน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัดและระดับเขต (EOC assessment tool 2019)

1.1 ผังโครงสร้าง ICS สำหรับรองรับทุกภัย (All Hazards) และระบุบุคคลและแนวทางการปฏิบัติ (SOP) ของแต่ละกล่องภารกิจ

1.2 รายงานผลการประเมินตนเองของศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุขตามแบบประเมิน EOC Assessment Tools

2

จัดทำแผนเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019  และฝึกซ้อมแผนตามแผนปฏิบัติการเพื่อรองรับสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

1.แผนเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 

2.รายงานการฝึกซ้อมแผนในสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 

3. สรุปผลการทบทวนแผนฯ

3

จัดทำแผนเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับภาวะฉุกเฉินตามความเสี่ยงของพื้นที่และฝึกซ้อมแผนจัดการภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุขที่เป็นการตอบสนองต่อเหตุการณ์ในระดับจังหวัด

1.แผนเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับภาวะฉุกเฉินตามความเสี่ยงของพื้นที่

2.รายงานการฝึกซ้อมแผนในภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

3. สรุปผลการทบทวนแผนฯ

4

ดำเนินการตามกิจกรรมภายใต้แผนงานรองรับนโยบายมุ่งเน้นของกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (House Model) 5 ประเด็น

 

 

หมายเหตุ :

จังหวัดรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานกับหน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก

 

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าถึงบริการสุขภาพจิต : จังหวัดมีแผนและการดำเนินงานเพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าถึงบริการสุขภาพจิต ผ่านโปรแกรม Mental Health Check-in หรือฐานข้อมูลผู้ที่มีความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิตจากสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให้ได้รับการดูแล ช่วยเหลือเยียวยาจิตใจเบื้องต้น

รายงานผลการดำเนินงาน ใน 5 ประเด็น ได้แก่

4.1 ดำเนินการจัดตั้งหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) ครบ 3 ทีม : คำสั่งแต่งตั้ง CDCU

4.2 ห้องปฏิบัติการทุกจังหวัดสามารถแจ้งผลตรวจการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ใน 1 วัน : รายงานผลจากระบบ CO-LAB

4.3 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าถึงบริการสุขภาพจิต : ศูนย์สุขภาพจิตที่ 1-13 และสถาบัน/โรงพยาบาลจิตเวช ในสังกัดกรมสุขภาพจิตที่รับผิดชอบในเขตสุขภาพเดียวกัน มีการร่วมกันดำเนินงานกับหน่วยงานในเขตสุขภาพ  โดยรายงานผลการดำเนินงานผ่านโปรแกรม Mental Health Check-inและฐานข้อมูลผู้ที่มีความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต

4.4 จังหวัดที่มีการบริหารจัดการสถานที่กักกัน (Quarantine) ได้มาตรฐานและเหมาะสมกับสถานการณ์ของจังหวัด : รายงานจำนวนสถานที่ในการกักกันฯ ที่ผ่านการรับรอง

4.5 ประชาชนสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย : รายงานผลการสำรวจผ่านระบบออนไลน์

 

ขั้นตอนที่

รายละเอียดการดำเนินการ

เอกสาร/หลักฐาน ประกอบการประเมินผล

1

การเตรียมความพร้อมเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน

1.1 โครงสร้าง ICS สำหรับรองรับทุกภัย (All Hazards)

1.2 จังหวัดประเมินตนเองตามแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินสำหรับหน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัดและระดับเขต (EOC assessment tool 2019)

1.1 ผังโครงสร้าง ICS สำหรับรองรับทุกภัย (All Hazards) และระบุบุคคลและแนวทางการปฏิบัติ (SOP) ของแต่ละกล่องภารกิจ

1.2 รายงานผลการประเมินตนเองของศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุขตามแบบประเมิน EOC Assessment Tools

2

จัดทำแผนเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019  และฝึกซ้อมแผนตามแผนปฏิบัติการเพื่อรองรับสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

1.แผนเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 

2.รายงานการฝึกซ้อมแผนในสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 

3. สรุปผลการทบทวนแผนฯ

 

3

จัดทำแผนเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับภาวะฉุกเฉินตามความเสี่ยงของพื้นที่และฝึกซ้อมแผนจัดการภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุขที่เป็นการตอบสนองต่อเหตุการณ์ในระดับจังหวัด

1.แผนเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับภาวะฉุกเฉินตามความเสี่ยงของพื้นที่

2.รายงานการฝึกซ้อมแผนในภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

3. สรุปผลการทบทวนแผนฯ

4

ดำเนินการตามกิจกรรมภายใต้แผนงานรองรับนโยบายมุ่งเน้นของกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (House Model) 5 ประเด็น

 

 

หมายเหตุ :

จังหวัดรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานกับหน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก

 

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าถึงบริการสุขภาพจิต : จังหวัดมีแผนและการดำเนินงานเพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าถึงบริการสุขภาพจิต ผ่านโปรแกรม Mental Health Check-in หรือฐานข้อมูลผู้ที่มีความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิตจากสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให้ได้รับการดูแล ช่วยเหลือเยียวยาจิตใจเบื้องต้น

รายงานผลการดำเนินงาน ใน 5 ประเด็น ได้แก่

4.1 ดำเนินการจัดตั้งหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) ครบ 3 ทีม : คำสั่งแต่งตั้ง CDCU

4.2 ห้องปฏิบัติการทุกจังหวัดสามารถแจ้งผลตรวจการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ใน 1 วัน : รายงานผลจากระบบ CO-LAB

4.3 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าถึงบริการสุขภาพจิต : ศูนย์สุขภาพจิตที่ 1-13 และสถาบัน/โรงพยาบาลจิตเวช ในสังกัดกรมสุขภาพจิตที่รับผิดชอบในเขตสุขภาพเดียวกัน มีการร่วมกันดำเนินงานกับหน่วยงานในเขตสุขภาพ  โดยรายงานผลการดำเนินงานผ่านโปรแกรม Mental Health Check-inและฐานข้อมูลผู้ที่มีความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต

4.4 จังหวัดที่มีการบริหารจัดการสถานที่กักกัน (Quarantine) ได้มาตรฐานและเหมาะสมกับสถานการณ์ของจังหวัด : รายงานจำนวนสถานที่ในการกักกันฯ ที่ผ่านการรับรอง

4.5 ประชาชนสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย : รายงานผลการสำรวจผ่านระบบออนไลน์

จังหวัด :

ที่

รายละเอียดการดำเนินการ

วิธีการประเมิน

หน่วยงานรับผิดชอบเก็บข้อมูล

1

การเตรียมความพร้อมเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน

1.1 โครงสร้าง ICS สำหรับรองรับทุกภัย (All Hazards)

1.2 จังหวัดประเมินตนเองตามแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินสำหรับหน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัดและระดับเขต (EOC assessment tool 2019)

 จังหวัดประเมินตนเอง

กองสาธารณสุขฉุกเฉิน สป.สธ.

2

จัดทำแผนเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019  และฝึกซ้อมแผนตามแผนปฏิบัติการเพื่อรองรับสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

จังหวัดประเมินตนเอง

 

กองสาธารณสุขฉุกเฉิน สป.สธ.

3

จัดทำแผนเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับภาวะฉุกเฉินตามความเสี่ยงของพื้นที่และฝึกซ้อมแผนจัดการภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุขที่เป็นการตอบสนองต่อเหตุการณ์ในระดับจังหวัด

จังหวัดประเมินตนเอง

 

กองสาธารณสุขฉุกเฉิน สป.สธ.

4

ดำเนินการตามกิจกรรมภายใต้แผนงานรองรับนโยบายมุ่งเน้นของกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (House Model) 5 ประเด็น

4.1

หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) ครบ 3 ทีม

สำรวจคำสั่งแต่งตั้งหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) และตรวจสอบจำนวนทีมปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU)

กองระบาดวิทยา /สำนักงานเลขานุการฯ  กรม คร.

4.2

ห้องปฏิบัติการทุกจังหวัดสามารถแจ้งผลตรวจการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ใน

1 วัน

ห้องปฏิบัติการส่งรายงานสรุป
ให้กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์โดยใช้ข้อมูลจากระบบ
CO-LAB

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรม วพ.

 

 

4.3

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าถึงบริการสุขภาพจิต

กองบริหารระบบบริการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต รวบรวมและวิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานการดูแลช่วยเหลือและติดตามต่อเนื่อง ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต ผ่านโปรแกรม Mental Health Check-in และฐานข้อมูลผู้ที่มีความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต

ศูนย์สุขภาพจิตที่ 1-13

/กองบริหารระบบบริการสุขภาพจิต กรม สจ.

4.4

จังหวัดที่มีการบริหารจัดการสถานที่กักกัน (Quarantine) ได้มาตรฐานและเหมาะสมกับสถานการณ์ของจังหวัด

จังหวัดประเมินตนเอง ผ่าน คณะกรรมการโรคติดต่อระดับจังหวัด

 

 

กองสาธารณสุขฉุกเฉิน สป.สธ. (กรมควบคุมโรค กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ)

4.5

 ประชาชนสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย

สำรวจผ่านระบบออนไลน์

อนามัยโพล์ https://forms.gle/kBzxZXkCV1zBuGxF7

 

 

ศูนย์อนามัยที่ 1-12 /สถาบันสุขภาวะเขตเมือง/กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย

 

เอกสารสนับสนุน

หนังสือกรอบแนวทางการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินและระบบบัญชาการเหตุการณ์ในภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข กรมควบคุมโรค พ.ศ. 2559-2564 (ฉบับปรับปรุง)

คู่มือพัฒนาการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระบบบัญชาการเหตุการณ์ และศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข กรมควบคุมโรค

พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 และอนุบัญญัติที่เกี่ยวข้อง

เว็บไซต์ https://ddc.moph.go.th/ddce/news.php?news=7033&deptcode=ddcen

หรือ เว็บไซต์กองสาธารณสุขฉุกเฉิน website: https://pher.moph.go.th/wordpress/8-5-63/

คู่มือศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข กองสาธารณสุขฉุกเฉิน

แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2558

แบบประเมิน EOC Assessment Tool

แนวทางการบริหารจัดการสถานที่กักกันซึ่งทางราชการกำหนด (Quarantine Facilities)  Website กรมควบคุมโรค https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/g_quarantine.php

คู่มือการใช้งานระบบ CO-Lab

แนวทางการสำรวจอนามัยโพล์ และแบบสำรวจพฤติกรรมประชาชนเพื่อการป้องกันโรค
โควิด 19 ที่  https://forms.gle/kBzxZXkCV1zBuGxF7 และหน้าแสดงผล Dashboard ที่ https://sites.google.com/view/hia-surveillance/anamai-poll

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

กองสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขฉุกเฉิน (กสธฉ.) สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :02 5901771        โทรศัพท์มือถือ : 084 555 1771

2. นายแพทย์ประกิจ สาระเทพ              นายแพทย์เชี่ยวชาญ (กสธฉ.)

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590 1771       โทรศัพท์มือถือ : 081 914 7872

    โทรสาร : 02 590 1771                  E-mail : p.sarathep@gmail.com

กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค

1. ผู้อำนวยการกองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน (ครฉ.) กรมควบคุมโรค

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :02 5903155        โทรศัพท์มือถือ : 082 658 4885

2. นายแพทย์เจษฎา ธนกิจเจริญกุล         นายแพทย์ชำนาญการ (ครฉ.)

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 5903238        โทรศัพท์มือถือ : 094195 4253

    โทรสาร : 02590 3238                   E-mail : jessada.tha@gmail.com

3. นายแพทย์รัฐพงษ์ บุรีวงษ์                 นายแพทย์ชำนาญการ (ครฉ.)
    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5903238        โทรศัพท์มือถือ : 0865694886

    โทรสาร : 02-590 3238                   E-mail : rattapong.b.@gmail.com

4. นางอัญชลี สิทธิชัยรัตน์                     นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ (ครฉ.)

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590 3159       โทรศัพท์มือถือ : 081 356 1791

    โทรสาร : 02-588 3767                 E-mail : un_run@yahoo.com

5. นางสุธิดา วรโชติธนัน                     กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3246       โทรศัพท์มือถือ : 095 530 1628

    โทรสาร : 0 2588 3767                 E-mail : pheplan2018@gmail.com

6. นางสาววรางคณา จันทรสุข                กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3157       โทรศัพท์มือถือ : 096 156 2614

    โทรสาร : 0 2588 3767                 E-mail : ch.warangkana@gmail.com

กองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

1. ผู้อำนวยการกองระบาดวิทยา

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3800       โทรศัพท์มือถือ : 

    โทรสาร : 0 2590 3845                  E-mail :

นางสาวกีรติกานต์ กลัดสวัสดิ์            กองระบาดวิทยา

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3803       โทรศัพท์มือถือ : 081 698 9866

    โทรสาร : 0 2590 3845                 E-mail : k.kiratikarn@gmail.com

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

1.  นางสาวฉัตรทิพย์ เครือหงษ์             นักเทคนิคการแพทย์ปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2951 0000       โทรศัพท์มือถือ : -

    โทรสาร : -                                 E-mail : chattip.k@dmsc.mail.go.th

2. นางสาวเพ็ญพิชชา ถาวงศ์                 นักเทคนิคการแพทย์ปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2951 0000       โทรศัพท์มือถือ : -

    โทรสาร : -                                 E-mail : penpitcha.t@dmsc.mail.go.th

กรมอนามัย

1. นางนภพรรณ นันทพงษ์                     ผู้อำนวยการกองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 4342        โทรศัพท์มือถือ : 08 1935 5819

    โทรสาร : 0 2590 4356                   E-mail : napapann@yahoo.com

2.  นางสาวเบญจวรรณ ธวัชสุภา            นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 4394      โทรศัพท์มือถือ : 081 631 7183

    โทรสาร : 0 2590 4356                   E-mail : ben_5708@hotmail.com

กรมสุขภาพจิต

1. นายแพทย์บุรินทร์  สุรอรุณสัมฤทธิ์ ผู้อำนวยการกองบริหารระบบบริการสุขภาพจิต

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 207 ต่อ 55207    โทรศัพท์มือถือ : -

    โทรสาร : -                                  E-mail : mcatt.mhso@dmh.mail.go.th

2. นางสาวพัชรินทร์ ศิริวิสุทธิรัตน์   นักสังคมสงเคราะห์ปฏิบัติการ กองบริหารระบบบริการสุขภาพจิต

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 8109       โทรศัพท์มือถือ : 08 6398 4249

    โทรสาร : 0 2149 5533                 E-mail : mcatt.mhso@dmh.mail.go.th

3. นางสาวทิพย์ภาภร  พงค์สุภา   นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กองบริหารระบบบริการสุขภาพจิต

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 8109      โทรศัพท์มือถือ : 08 1860 5943

    โทรสาร : 0 2149 5533                  E-mail : mcatt.mhso@dmh.mail.go.th

1. นางสุรีรัตน์ ใจดี                             นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ (กสธฉ.)

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590 1771       โทรศัพท์มือถือ : 094 628 9907

     โทรสาร : 02-590 1771                E-mail : sureeratdee@hotmail.com

2.นางสาวพณิดา นาถนอมนักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ (กสธฉ.)

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901353        โทรศัพท์มือถือ : 080 076 7931

    โทรสาร : 02-590 1771                  E-mail : dphem.planning@gmail.com

3. นางสาวปาริฉัตร หมื่นจี้                    นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ (กสธฉ.)

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 1353        โทรศัพท์มือถือ : 081 855 1771

    โทรสาร : 0 2590 1771                  E-mail : dphem.planning@gmail.com

4. นางสาววรารัตน์ ทุนทรัพย์                 นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ (กสธฉ.)

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 1353        โทรศัพท์มือถือ : 081 855 1771

    โทรสาร : 0 2590 1771                   E-mail : dphem.planning@gmail.com

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. กองสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2. กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค     

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1.นางสาวพณิดา นาถนอมนักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ (กสธฉ.)

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901353         โทรศัพท์มือถือ : 080 076 7931

    โทรสาร : 02-590 1771                 E-mail : dphem.planning@gmail.com

2. นางสาวปาริฉัตร หมื่นจี้                      นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ (กสธฉ.)

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 1353        โทรศัพท์มือถือ : 081 855 1771

    โทรสาร : 0 2590 1771                  E-mail : dphem.planning@gmail.com

3. นางสาววรารัตน์ ทุนทรัพย์                 นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ (กสธฉ.)

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 1353        โทรศัพท์มือถือ : 081 855 1771

    โทรสาร : 0 2590 1771                   E-mail : dphem.planning@gmail.com

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-10-12 15:47:04
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>