ร้อยละของเขตสุขภาพมีการพัฒนาระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ
ผลการดำเนินงาน >>ชื่อตัวชี้วัด | ร้อยละของเขตสุขภาพมีการพัฒนาระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
Child KPI | สร้าง KPI ย่อย | ||||||||
ปีงบประมาณ | 2563 | ||||||||
ระดับตัวชี้วัด | ประเทศ | ||||||||
ตัวชี้วัดที่ | 066 | ||||||||
Sort Order | 0 | ||||||||
คำนิยาม | เขตสุขภาพ (Regional Health) หมายถึง ระบบการบริหารงานส่วนกลางในภูมิภาค เพื่อให้การบริหารจัดการเกิดบริการสุขภาพแบบบูรณาการภายในเขต โดยมีเป้าหมายลดอัตราป่วย อัตราตายของประชาชน และให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการบริการในทุกระดับอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม มีการกระจายอำนาจในการบริหารจัดการลงไปในระดับพื้นที่ โดยแบ่งเขตสุขภาพออกเป็น 13 เขต (รวมกรุงเทพฯ) แต่ละเขตสุขภาพรอบคลุม 4-8 จังหวัด ประชากรประมาณ 3-6 ล้านคน เพื่อให้มีขนาดที่เหมาะสม (Economy of scale) ด้านภูมิประเทศ การคมนาคมที่สะดวกของประชาชน เอื้อต่อการพัฒนาระบบส่งต่อและเพิ่มอัตราความครอบคลุมบริการที่สะดวก รวดเร็ว มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และสามารถสร้างการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนโดยสนับสนุนโครงสร้างองค์กรและโครงสร้างการบริหารองค์กร มีการบริหารจัดการรูปแบบคณะกรรมการ พื้นฐาน 2 ชุด คือ 1. คณะกรรมการอำนวยการ มีหน้าที่ในการกำหนดนโยบายยุทธศาสตร์และทิศทางการดำเนินงานในเขตสุขภาพ ให้สอดคล้องกับนโยบายระดับชาติและกระทรวงสาธารณสุขและ 2. คณะกรรมการเขตสุขภาพ มีหน้าที่ในการนำนโยบายและยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติให้มีประสิทธิภาพ ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาระบบบริการสุขภาพของหน่วยบริการที่เกี่ยวข้องทุกระดับ การดำเนินงานตามขอบเขต คือ
| ||||||||
หน่วยตัวชี้วัด | ร้อยละ | ||||||||
หน่วยของค่า A | เขต | ||||||||
นิยามของค่า A | จำนวนเขตสุขภาพที่ดำเนินการผ่านเกณฑ์ที่กำหนด | ||||||||
หน่วยของค่า B | เขต | ||||||||
นิยามของค่า B | จำนวนเขตสุขภาพทั้งหมด | ||||||||
หน่วยของค่า C | |||||||||
นิยามของค่า C | |||||||||
หน่วยของค่า D | |||||||||
นิยามของค่า D | |||||||||
หน่วยของค่า E | |||||||||
นิยามของค่า E | |||||||||
หน่วยของค่า F | |||||||||
นิยามของค่า F | |||||||||
สูตรคำนวนตัวชี้วัด | (A/B)x100 | ||||||||
Operator | >= | ||||||||
เกณฑ์เป้าหมาย | ระดับ 5 (ร้อยละ 100) | ||||||||
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย | เขตสุขภาพ | ||||||||
ค่าเป้าหมาย | 100.00 | ||||||||
Max Value | - | ||||||||
วิธีการจัดเก็บข้อมูล | เขตสุขภาพรายงานผลการดำเนินงาน ทุก 3 เดือน | ||||||||
แหล่งข้อมูล | เขตสุขภาพ | ||||||||
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง | - | ||||||||
ตัวชี้วัดระดับเขต | - | ||||||||
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด | - | ||||||||
ตัวชี้วัดสำคัญ | - | ||||||||
ตัวชี้วัด Area Base | - | ||||||||
Tags | |||||||||
ระยะเวลาการประเมินผล | ไตรมาส 1 2 3 และ 4 | ||||||||
ข้อมูล Baseline | |||||||||
เกณฑ์การประเมินผล |
| ||||||||
วิธีการประเมินผล | |||||||||
เอกสารสนับสนุน | |||||||||
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด | 1. นางลินลา ตุ๊เอี้ยง นักวิชาการสาธารณสุขขำนาญการ กองบริหารการสาธารณสุข 2. ดร.สุดาฟ้า วงศ์หาริมาตย์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กองบริหารการสาธารณสุข โทรศัพท์ที่ทำงาน: 02-590 1651 โทรศัพท์มือถือ: 092-573 3547 E-mail: sudafawongharimat@gmail.com 3. นางสุนีย์ สว่างศรี นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชำนาญการพิเศษ กองตรวจราชการ โทรศัพท์ที่ทำงาน: 02-590 1482 suneehealth@gmail.com | ||||||||
หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง) | กองตรวจราชการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กองบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข | ||||||||
ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน | 1. นพ.วิเชียร เทียนจารุวัฒนา ผู้อำนวยการกองตรวจราชการ โทรศัพท์ที่ทำงาน: 02-590 1826 2. นพ.ธีรพงศ์ ตุนาค ผู้อำนวยการกองบริหารการสาธารณสุข โทรศัพท์ทีทำงาน: 02-590 1761 โทรศัพท์มือถือ: 087-150 303 3. นางลินลา ตุ๊เอี้ยง นักวิชาการสาธารณสุขขำนาญการ กองบริหารการสาธารณสุข 4. ดร.สุดาฟ้า วงศ์หาริมาตย์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กองบริหารการสาธารณสุข โทรศัพท์ที่ทำงาน: 02-590 1651 โทรศัพท์มือถือ: 092 573 3547 E-mail: sudafawongharimat@mail.com 5.นางสาวฐปณภร เจริญวงศ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ กองตรวจราชการ โทรศัพท์ 084-3883041 tapanapon11@gmai.com 6. นางสุนีย์ สว่างศรี นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ กองตรวจราชการ โทรศัพท์ที่ทำงาน: 02-590 1482 suneehealth@gmail.com | ||||||||
รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base | 0 | ||||||||
Areabase Kpi Regioncode | 0 | ||||||||
หมายเหตุ | |||||||||
Last Update | 2021-03-24 14:22:39 | ||||||||
Download |