จำนวนผู้ป่วยที่ไม่ฉุกเฉินในห้องฉุกเฉินระดับ 4 และ 5 (Non trauma) ลดลง

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดจำนวนผู้ป่วยที่ไม่ฉุกเฉินในห้องฉุกเฉินระดับ 4 และ 5 (Non trauma) ลดลง
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2563
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่049
Sort Order0
คำนิยาม

การคัดแยกผู้ป่วย

ระดับ 1 (สีแดง) คือ ผู้ป่วยที่มีภาวะคุกคามที่จะทำให้เสียชีวิต ต้องช่วยเหลือทันที (resuscitation)

ระดับ 2 (สีชมพู) คือ ผู้ป่วยที่มีภาวะเจ็บป่วยรุนแรงที่ต้องให้การช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน (emergency)

ระดับ 3 (สีเหลือง) คือ ผู้ป่วยที่มีภาวะเจ็บป่วยเร่งด่วนที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและอวัยวะ (urgent)

ระดับ 4 (สีเขียว) คือ ผู้ป่วยที่มีภาวะเจ็บป่วยเร่งด่วนทั่วไป (less - urgent)

ระดับ 5 (สีขาว) คือ ผู้ป่วยที่มีภาวะเจ็บป่วยไม่ฉุกเฉิน (non - urgent)

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aราย
นิยามของค่า Aจำนวนผู้ป่วยที่ไม่ฉุกเฉินในห้องฉุกเฉินระดับ 4 และ 5 (Non trauma) ปีงบประมาณ 2562
หน่วยของค่า Bราย
นิยามของค่า Bจำนวนผู้ป่วยที่ไม่ฉุกเฉินในห้องฉุกเฉินระดับ 4 และ 5 (Non trauma) ปีงบประมาณ 2563
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A-B)x100/A
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 5
ประชากรกลุ่มเป้าหมายโรงพยาบาลศูนย์ สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 34 แห่ง
ค่าเป้าหมาย5.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

ระบบรายงาน/แบบประเมิน

แหล่งข้อมูล

โรงพยาบาลศูนย์

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 2, 3, 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2560

2561

2562

NA

ร้อยละ

NA

NA

NA

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2563 :

ประเภท

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

จำนวนผู้ป่วยที่ไม่ฉุกเฉินในห้องฉุกเฉินระดับ 4 และ 5 (Non trauma) ลดลงจากเดิม

 

 ร้อยละ 3

 ร้อยละ 4

ร้อยละ 5

ปี 2564 :

ประเภท

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

จำนวนผู้ป่วยที่ไม่ฉุกเฉินในห้องฉุกเฉินระดับ 4 และ 5 (Non trauma) ลดลงจากเดิม

 

 

 

ร้อยละ 10

วิธีการประเมินผล

โรงพยาบาลศูนย์

1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการห้องฉุกเฉินคุณภาพระดับระดับโรงพยาบาล

2. มีการเปิดคลินิกนอกเวลาราชการ

3. มีการเปิดคลินิกพิเศษเฉพาะทางนอกเวลาราชการ(SMC)

เอกสารสนับสนุน
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

กองบริหารการสาธารณสุข

1. นายแพทย์ธีรพงศ์ ตุนาค                        ผู้อำนวยการกองบริหารการสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590-1755         โทรศัพท์มือถือ : -

    โทรสาร : 02-590-0802                     E-mail : -

2. นางเกวลิน ชื่นเจริญสุข                         รองผู้อำนวยการกองบริหารการสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590-1643         โทรศัพท์มือถือ : 089-829-625

    โทรสาร : 02-590-1631                    E-mail : kavalinc@hotmail.com

3. นายแพทย์ชาติชาย  คล้ายสุบรรณ            โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร

    โทรศัพท์ที่ทำงาน                                โทรศัพท์มือถือ : 086-141-4769

    โทรสาร :  037-211-243                   E-mail : beera024@gmail.com

4. นางณัฏฐิณา  รังสินธุ์                            นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590-1637         โทรศัพท์มือถือ : 087-6828-809

    โทรสาร : 02-590-1631                    E-mail : nuttina24@gmail.com

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

กองบริหารการสาธารณสุข

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

กองบริหารการสาธารณสุข

1. นางเกวลิน ชื่นเจริญสุข                      รองผู้อำนวยการกองบริหารการสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590-1643          โทรศัพท์มือถือ : 089-829-625

    โทรสาร : 02-590-1631                    E-mail : kavalinc@hotmail.com

2.  นางณัฏฐิณา  รังสินธุ์                            นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590-1637         โทรศัพท์มือถือ : 087-6828-809

    โทรสาร : 02-590-1631                    E-mail : nuttina24@gmail.com

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>