ร้อยละของโรงพยาบาลศูนย์ผ่านเกณฑ์ ER คุณภาพ

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของโรงพยาบาลศูนย์ผ่านเกณฑ์ ER คุณภาพ
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2563
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่048
Sort Order0
คำนิยาม

ห้องฉุกเฉินคุณภาพ หมายถึง ห้องฉุกฉินที่มีมาตรฐาน ให้การรักษาพยาบาลผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉิน อย่างทันเวลา ปลอดภัยและประทับใจ โดยเน้นใน 3 มิติ คือ

  1. พัฒนาระบบบริการที่มีมาตรฐาน
    1. เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน
      1. จัดบริการห้องฉุกเฉินตามเกณฑ์ ER Service Delivery
      2. กำหนดให้ผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ในการ Admit อยู่ในห้องฉุกเฉินไม่เกิน 2-4 ชั่วโมง (ER Target Time 2-4 ชั่วโมง)
    2. เพิ่มทางเลือกให้ผู้ป่วยไม่ฉุกเฉิน
      1. จัดบริการ OPD นอกเวลาราชการ
  2. พัฒนาระบบสนับสนุนที่มีมาตรฐาน
    1.  พัฒนาอาคารสถานที่
      1. จัดให้มี Double door with access control
      2. จัดให้มีห้องรอตรวจ (Waiting area/room)
      3. จัดให้มีห้องแยกโรค (Isolation room)
    2.  พัฒนาระบบสารสนเทศ
      1. มีสารสนเทศที่แสดงคิวและสถานะรวมถึงขั้นตอนการรักษาของผู้ป่วยแต่ละราย (Patient Tracking)
      2. เชื่อมโยงข้อมูลด้านการแพทย์ฉุกเฉิน โดยการพัฒนาระบบ Telemedicine และ   Ambulance Operation Center (AOC)
      3. ส่งข้อมูลผู้รับบริการห้องฉุกเฉินทุกราย ผ่านแฟ้ม “ACCIDENT” ในระบบข้อมูล 43 แฟ้ม
  3.  การพัฒนาและธำรงรักษากำลังคน
    1. วางแผนกำลังคนแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน (EP) พยาบาลเวชปฏิบัติฉุกเฉิน (ENP)

        และนักปฏิบัติการฉุกเฉินทางการแพทย์ (Paramedic)

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aแห่ง
นิยามของค่า Aจำนวนโรงพยาบาล ระดับ A ที่ผ่านเกณฑ์ประเมิน ER คุณภาพ
หน่วยของค่า Bแห่ง
นิยามของค่า Bจำนวนโรงพยาบาล ระดับ A ทั้งหมด ในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)x100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 80
ประชากรกลุ่มเป้าหมายโรงพยาบาลศูนย์ สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 34 แห่ง
ค่าเป้าหมาย80.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

ระบบรายงาน/แบบประเมิน

แหล่งข้อมูล

โรงพยาบาลศูนย์

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลประเมินติดตาม ในไตรมาส 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2560

2561

2562

NA

ร้อยละ

NA

NA

NA

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2563 :

ประเภท

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

โรงพยาบาลศูนย์ (A) 34 แห่ง ผ่านเกณฑ์ ER คุณภาพ

 

 

 

ร้อยละ 80

ปี 2564 :

ประเภท

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

โรงพยาบาลศูนย์ (A) 34 แห่ง ผ่านเกณฑ์ ER คุณภาพ

 

 

 

ร้อยละ 100

วิธีการประเมินผล

ขั้นตอนที่ 1. โรงพยาบาลศูนย์(A) มีคณะกรรมการพัฒนาห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาลเพื่อทำหน้าที่

ประเมิน ER คุณภาพ ตามแบบฟอร์มการประเมินด้านการรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาล (Hospital Based  Emergency Care System)  ไม่น้อยกว่าปีละ 1 ครั้ง มาวิเคราะห์ผลตอบค่าตัวชี้วัด

นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินด้านการรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาล มาสรุปเป็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ (out put) นำไปสู่การพัฒนา ER คุณภาพ

นำข้อมูลจากข้อ 1.1 - 1.2 มาวิเคราะห์เชิงปริมาณและคุณภาพ เพื่อนำเสนอผลการดำเนินงานต่อผู้บริหารของโรงพยาบาล และ สสจ. เพื่อนำไปประมวลผลในภาพรวมของจังหวัด นำเสนอข้อมูลต่อหน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล

 

ขั้นตอนที่ 2 เขตสุขภาพ /สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด  

       2.1 นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินด้านการรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาล

ขึ้นไปมาเปรียบเทียบในระดับจังหวัด/เขต

       2.2 นำข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ (out put) นำไปสู่การพัฒนา ER คุณภาพระดับจังหวัด/เขต

ขั้นตอนที่ 3 ส่วนกลาง

3.1 นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินด้านการรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาล มาเปรียบเทียบในระดับเขต และวางแผนสนับสนุนการพัฒนาห้องฉุกเฉินคุณภาพ

เอกสารสนับสนุน

แบบประเมินด้านการรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาล (Hospital Based Emergency Care System) ในองค์ประกอบห้องฉุกเฉิน

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

กองบริหารการสาธารณสุข

1. นายแพทย์ธีรพงศ์ ตุนาค                        ผู้อำนวยการกองบริหารการสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590-1755         โทรศัพท์มือถือ : -

    โทรสาร : 02-590-0802                     E-mail : -

2. นางเกวลิน ชื่นเจริญสุข                         รองผู้อำนวยการกองบริหารการสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590-1643         โทรศัพท์มือถือ : 089-829-625

    โทรสาร : 02-590-1631                    E-mail : kavalinc@hotmail.com

3. นายแพทย์ชาติชาย  คล้ายสุบรรณ          โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร

    โทรศัพท์ที่ทำงาน                                โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร :                                          E-mail :

4. นางณัฏฐิณา  รังสินธุ์                            นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590-1637         โทรศัพท์มือถือ : 087-6828-809

    โทรสาร : 02-590-1631                    E-mail : nuttina24@gmail.com

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

กองบริหารการสาธารณสุข

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

กองบริหารการสาธารณสุข

1. นางเกวลิน ชื่นเจริญสุข                      รองผู้อำนวยการกองบริหารการสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590-1643          โทรศัพท์มือถือ : 089-829-625

    โทรสาร : 02-590-1631                    E-mail : kavalinc@hotmail.com

2.  นางณัฏฐิณา  รังสินธุ์                            นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590-1637         โทรศัพท์มือถือ : 087-6828-809

    โทรสาร : 02-590-1631                    E-mail : nuttina24@gmail.com

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>