ร้อยละ อสม. กลุ่มเป้าหมายมีศักยภาพเป็น อสม. หมอประจำบ้าน

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละ อสม. กลุ่มเป้าหมายมีศักยภาพเป็น อสม. หมอประจำบ้าน
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2563
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่022.1
Sort Order0
คำนิยาม

       ผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมาย หมายถึง  ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ผู้พิการ/ผู้ด้อยโอกาสที่มีภาวะพึ่งพิง

       อสม. หมอประจำบ้าน หมายถึง ประธาน อสม. ระดับหมู่บ้าน/ชุมชน หรือ อสม. ตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ที่ได้รับการคัดเลือกและพัฒนาศักยภาพตามหลักสูตร อสม. หมอประจำบ้าน ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด

       อสม. มีศักยภาพเป็น อสม. หมอประจำบ้าน หมายถึง อสม. ที่ผ่านการอบรมตามหลักสูตร อสม. หมอประจำบ้าน มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพคนในชุมชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี

      คุณภาพชีวิตที่ดี หมายถึง ผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aราย
นิยามของค่า Aจำนวน อสม. กลุ่มเป้าหมายมีศักยภาพเป็น อสม. หมอประจำบ้าน
หน่วยของค่า Bราย
นิยามของค่า Bจำนวน อสม. ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพเป็น อสม. หมอประจำบ้าน
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)x100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 70
ประชากรกลุ่มเป้าหมายอสม. ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพเป็น อสม. หมอประจำบ้าน
ค่าเป้าหมาย70.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

จัดเก็บจากฐานข้อมูล อสม. โดย เจ้าหน้าที่สาธารณสุขผู้รับผิดชอบพื้นที่ รพ.สต./รพช./รพท./หน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่นำข้อมูลผลการดำเนินงานมาบันทึกลงในเว็บไซต์ฐานข้อมูล www.thaiphc.net

แหล่งข้อมูล

1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 1 2 3 และ 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2560

2561

2562

ร้อยละของผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการดูแลจาก อสม. หมอประจำบ้าน มีคุณภาพชีวิตที่ดี

ร้อยละ

-

-

-

 

      เนื่องจากเป็นตัวชี้วัดใหม่ จึงไม่มีข้อมูลพื้นฐาน(Baseline)

เกณฑ์การประเมินผล

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

1. มีการชี้แจงแนวทางสู่
   การปฏิบัติ

2. อบรม อสม. หมอประจำ
   บ้าน จำนวน 40,000 คน

มี อสม. หมอประจำบ้าน 80,000 คน (สะสม)

อสม. กลุ่มเป้าหมายมีศักยภาพเป็น อสม. หมอประจำบ้าน ร้อยละ 70

ผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการดูแลจาก อสม. หมอประจำบ้านมีคุณภาพชีวิตที่ดี อย่างน้อยร้อยละ 70

วิธีการประเมินผล

เปรียบเทียบกับค่าเป้าหมายที่กำหนด 

เอกสารสนับสนุน

1. แนวทางการดำเนินงาน

2. หลักสูตร อสม. เป็นหมอประจำบ้าน

3. ฐานข้อมูล อสม. หมอประจำบ้าน บนเว็บไซต์ www.thaiphc.net 

4. Application “SMART อสม.”

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

นายนัตถะวุฒิ    ภิรมย์ไทย        ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 193 7000 ต่อ 18724        โทรศัพท์มือถือ : 081-8955723

โทรสาร : 02149 5645                                         E-mail : natwutp@gmail.com

สถานที่ทำงาน กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

 นางศุภัคชญา    ภวังคะรัต          หัวหน้ากลุ่มพัฒนาการมีส่วนร่วม กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน

  โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 193 7000 ต่อ 18740    โทรศัพท์มือถือ : 084-3614662

  โทรสาร : 02149 5645                                    E-mail : cherryphc@gmail.com

  สถานที่ทำงาน กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

ชื่อ นายสมภพ อาจชนะศึก  ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 193 7000 ต่อ 18740     

สถานที่ทำงาน กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>