ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารหรืออาหารกลุ่มเป้าหมายที่พบสารที่มีฤทธิ์ในการลดน้ำหนักหรือเสริมสร้างสมรรถภาพทางเพศ)
ผลการดำเนินงาน >>ชื่อตัวชี้วัด | ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารหรืออาหารกลุ่มเป้าหมายที่พบสารที่มีฤทธิ์ในการลดน้ำหนักหรือเสริมสร้างสมรรถภาพทางเพศ) | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
Child KPI | สร้าง KPI ย่อย | |||||||||||||
ปีงบประมาณ | 2563 | |||||||||||||
ระดับตัวชี้วัด | ประเทศ | |||||||||||||
ตัวชี้วัดที่ | 017.2 | |||||||||||||
Sort Order | 0 | |||||||||||||
คำนิยาม | ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารหรืออาหารกลุ่มเป้าหมายที่พบสารที่มีฤทธิ์ในการลดน้ำหนักหรือเสริมสร้างสมรรถภาพทางเพศ หมายถึง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร กาแฟ หรือเครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท ที่ผลการตรวจวิเคราะห์ในปี 2561 – 2562 พบการปลอมปนสารที่มีฤทธิ์ใน การลดน้ำหนักหรือเสริมสร้างสมรรถภาพทางเพศ (Blacklist) | |||||||||||||
หน่วยตัวชี้วัด | ร้อยละ | |||||||||||||
หน่วยของค่า A | ผลิตภัณฑ์ | |||||||||||||
นิยามของค่า A | จำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผักและผลไม้สด, ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารหรืออาหารกลุ่มเป้าหมายที่พบสารที่มีฤทธิ์ในการลดน้ำหนักหรือเสริมสร้างสมรรถภาพทางเพศเครื่องสำอาง ที่ได้รับการตรวจสอบทางห้องปฏิบัติการมีความปลอดภัย และ จำนวนผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ปลอดภัยที่ตรวจพบจากชุดทดสอบอย่างง่ายและการตรวจสอบทางห้องปฏิบัติการ (กรณีตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการเมื่อพบผลการตรวจสอบด้วยชุดทดสอบอย่างง่ายตกมาตรฐาน) | |||||||||||||
หน่วยของค่า B | ผลิตภัณฑ์ | |||||||||||||
นิยามของค่า B | จำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผักและผลไม้สด, ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารหรืออาหารกลุ่มเป้าหมายที่พบสารที่มีฤทธิ์ในการลดน้ำหนักหรือเสริมสร้างสมรรถภาพทางเพศ เครื่องสำอาง ที่ได้รับผลวิเคราะห์จากห้องปฏิบัติการทั้งหมด และจำนวนผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่มีผลตรวจวิเคราะห์จากชุดทดสอบอย่างง่ายทั้งหมด | |||||||||||||
หน่วยของค่า C | ||||||||||||||
นิยามของค่า C | ||||||||||||||
หน่วยของค่า D | ||||||||||||||
นิยามของค่า D | ||||||||||||||
หน่วยของค่า E | ||||||||||||||
นิยามของค่า E | ||||||||||||||
หน่วยของค่า F | ||||||||||||||
นิยามของค่า F | ||||||||||||||
สูตรคำนวนตัวชี้วัด | (A/B)x100 | |||||||||||||
Operator | >= | |||||||||||||
เกณฑ์เป้าหมาย | ร้อยละ 80 | |||||||||||||
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย | ทั่วประเทศ จำแนกเป็นตัวอย่างผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ดำเนินการโดยส่วนกลางและส่วนภูมิภาค | |||||||||||||
ค่าเป้าหมาย | 80.00 | |||||||||||||
Max Value | 100.00 | |||||||||||||
วิธีการจัดเก็บข้อมูล | สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดรายงานผลการตรวจสอบทุกไตรมาส โดยนำเข้าระบบ KBIS ของ อย. สำหรับผลิตภัณฑ์สมุนไพร ให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดจัดเก็บข้อมูลและรวบรวมผ่านระบบสารสนเทศของสำนักยา อย.นำผลการตรวจสอบทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาคเข้าระบบ Dashboard ของกระทรวงสาธารณสุข โดยรายงานทุกไตรมาส | |||||||||||||
แหล่งข้อมูล | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด | |||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง | - | |||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับเขต | - | |||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด | - | |||||||||||||
ตัวชี้วัดสำคัญ | - | |||||||||||||
ตัวชี้วัด Area Base | - | |||||||||||||
Tags | ||||||||||||||
ระยะเวลาการประเมินผล | ไตรมาส 1 2 3 และ 4 | |||||||||||||
ข้อมูล Baseline |
หมายเหตุ: ปี 2560 – 2561 ไม่ได้ถูกกำหนดเป็นตัวชี้วัดภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) | |||||||||||||
เกณฑ์การประเมินผล | ปี 2562 - 2564 :
| |||||||||||||
วิธีการประเมินผล | จากรายงานสรุปผลของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด | |||||||||||||
เอกสารสนับสนุน | ||||||||||||||
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด | 1. ผักและผลไม้สด ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ : นางสาวจุฬาลักษณ์ นิพนธ์แก้ว สำนักอาหาร โทรศัพท์ : 02-590-7214 โทรศัพท์มือถือ : 086-997-7187 โทรสาร : 02-591-8460 E-mail : planning.food@gmail.com ผู้ประสานงานตัวชี้วัด : นายกริชเพชร ผรณจินดา สำนักอาหาร โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-7216 โทรศัพท์มือถือ : 090-932-8585 โทรสาร : 02-591-8460 E-mail : planning.food@gmail.com 2. ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารหรืออาหารกลุ่มเป้าหมายที่พบสารที่มีฤทธิ์ในการลดน้ำหนักหรือเสริมสร้างสมรรถภาพทางเพศ ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ : นางสาวจุฬาลักษณ์ นิพนธ์แก้ว สำนักอาหาร โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 7214 โทรศัพท์มือถือ : 086 997 7187 โทรสาร : 0 2591 8460 e-mail : planning.food@gmail.com ผู้ประสานงานตัวชี้วัด : นายกริชเพชร ผรณจินดา สำนักอาหาร โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590-7216 โทรศัพท์มือถือ : 090 932 8585 โทรสาร : 0 2591 8460 e-mail : planning.food@gmail.com ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการและผู้ประสานงานตัวชี้วัด : นายฉัตรชัย พานิชศุภภรณ์ สำนักควบคุมเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย อย. โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-7277 โทรสาร : 02-591-8468 4. ผลิตภัณฑ์สมุนไพร ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการและผู้ประสานงานตัวชี้วัด : 1. ภญ.นุชรินธ์ โตมาชา เภสัชกรชำนาญการ (เขตสุขภาพที่ 1-12) โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5907155 โทรศัพท์มือถือ : 061-7317779 โทรสาร : 02-5907341 E-mail : nuchy408@gmail.com สำนักยา อย. 2. ภญ.อุษณีย์ ทองใบ เภสัชกรชำนาญการ (เขตสุขภาพที่ 13) โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5907393 โทรศัพท์มือถือ : 081-3756902 โทรสาร : 02-5918484 E-mail : uthongbai@gmail.com กองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนภูมิภาคฯ อย. 3. ภญ.นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช เภสัชกรชำนาญการ (เขตสุขภาพที่ 1-13) โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5907155 โทรศัพท์มือถือ : 081-9529663 โทรสาร : 02-5907341 E-mail : pharmui30@gmail.com สำนักยา อย. | |||||||||||||
หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง) | - สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด | |||||||||||||
ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน | ส่วนภูมิภาค 1.นายอาทิตย์ พันเดช ตำแหน่ง : เภสัชกรชำนาญการพิเศษ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-7383 โทรศัพท์มือถือ : 084-795-6951 โทรสาร : 02-591-8484 E-mail : artypun@gmail.com กองส่งเสริมงานคุ้มครองฯ (คบ) สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ส่วนกลาง 1. นางนิธิวดี บัตรพรรธนะ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-7292 โทรศัพท์มือถือ : 093-329-6998 โทรสาร : 02-591-8457 E-mail : pattana@fda.moph.go.th กลุ่มติดตามและประเมินผล กองแผนงานและวิชาการ อย. | |||||||||||||
รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base | 0 | |||||||||||||
Areabase Kpi Regioncode | 0 | |||||||||||||
หมายเหตุ | ||||||||||||||
Last Update | 2021-03-24 14:22:39 | |||||||||||||
Download |