ร้อยละของจังหวัดมีระบบรับแจ้งข่าว การใช้/ป่วยจากการสัมผัส สารเคมีทางการเกษตร 3 ชนิด (พาราควอต คลอร์ไพริฟอส ไกลโฟเสต) โดยประชาชน/อสม. ผ่าน Mobile Application สู่หน่วยบริการ (คลินิกสารเคมีเกษตร/คลินิกโรคจากการทำงาน)

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของจังหวัดมีระบบรับแจ้งข่าว การใช้/ป่วยจากการสัมผัส สารเคมีทางการเกษตร 3 ชนิด (พาราควอต คลอร์ไพริฟอส ไกลโฟเสต) โดยประชาชน/อสม. ผ่าน Mobile Application สู่หน่วยบริการ (คลินิกสารเคมีเกษตร/คลินิกโรคจากการทำงาน)
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2563
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่015
Sort Order0
คำนิยาม

Mobile Application หมายถึง เครื่องมือที่ใช้ในการสำรวจการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชในพื้นที่สำหรับ อสม. ผ่านอุปกรณ์อิเล็กโทรนิกส์เคลื่อนที่

คลินิกสารเคมีเกษตร หมายถึง คลินิกสุขภาพเกษตรกร หรือ คลินิกการจัดบริการ
อาชีวอนามัยให้กับแรงงานในชุมชนสำหรับหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ ที่มีอยู่เดิม
และดำเนินการอยู่แล้ว หรือสามารถจัดตั้งขึ้นมาใหม่ได้

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aจังหวัด
นิยามของค่า Aจำนวนจังหวัดที่มีข้อมูลการสำรวจการใช้และปริมาณสารเคมีทางการเกษตร และการใช้สารหรือวิธีการอื่นที่ปลอดภัยไม่ใช่สารเคมี
หน่วยของค่า Bจังหวัด
นิยามของค่า Bจำนวนจังหวัดทั้งหมด (76 จังหวัด ไม่รวม กทม.)
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)x100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 100
ประชากรกลุ่มเป้าหมายเกษตรกร หรือ ผู้ฉีดพ่นสารเคมีทางการเกษตร
ค่าเป้าหมาย100.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ประสานและรวบรวมข้อมูลจากหน่วยบริการ 

แหล่งข้อมูล

จากการสำรวจของ อสม. 

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลรายไตรมาส (1-4)
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2560

2561

2562

ร้อยละของจังหวัดมีระบบรับแจ้งข่าว
การใช้/ป่วยจากการสัมผัส สารเคมีทางการเกษตร 3 ชนิด (พาราควอต
คลอร์ไพริฟอส ไกลโฟเสต) โดย อสม.
ผ่าน Mobile Application ไปยังหน่วยบริการ (คลินิกสารเคมีเกษตร/คลินิกโรคจากการทำงาน)

 

 

ร้อยละ

ตัวชี้วัดใหม่ ปี 2563

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2561:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

-

-

-

 

 

 

 

ปี 2562:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

-

-

-

 

 

 

 

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

- ชี้แจง ถ่ายทอด
แนวทางการดำเนินงานสำรวจการใช้สารเคมีทางการเกษตร และการใช้สารหรือวิธีการอื่นที่ปลอดภัยไม่ใช่สารเคมี ให้กับหน่วยงานเครือข่าย (ผู้รับผิดชอบงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
และอาชีวอนามัย สสอ. และ รพ.สต.)

 

 

- รพ.สต. แนะนำ ให้คำปรึกษา ติดตามการดำเนินงานของ

อสม. ในการสำรวจการ
ใช้สารเคมีฯ ในการใช้ Mobile Application

  • อสม. สำรวจการ
    ใช้สารเคมีฯ ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 1 – 31 มกราคม 2563

- รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลจากหน่วยบริการปฐมภูมิทั้งหมด และจัดทำสรุปรายงานผลการดำเนินงานรายงานสถานการณ์
การใช้สารเคมีฯ
จากการสำรวจครั้งที่ 1

- นำข้อมูลการสำรวจที่ได้เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อมจังหวัด เพื่อขับเคลื่อนมาตรการยุติการใช้สารเคมีฯ ในระดับจังหวัด

  • นำข้อมูลไปเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลด้านอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมด้านเกษตรกรรม

- รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลจากหน่วยบริการปฐมภูมิทั้งหมด และจัดทำสรุปรายงานผลการดำเนินงานรายงานสถานการณ์การสำรวจการใช้สารเคมีฯฯ

- นำข้อมูลถานการณ์ฯ ไปขับเคลื่อนมาตรการยุติการใช้สารเคมีฯ ในระดับจังหวัด

- ติดตามและสรุปผลการดำเนินงานในรอบ 9 เดือน

- อสม. สำรวจใช้สารเคมีฯ ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 1 - 31 กรกฎาคม 2563

- รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลจากหน่วยบริการปฐมภูมิทั้งหมด และจัดทำสรุปรายงานผลการดำเนินงานรายงานสถานการณ์การใช้สารเคมีฯ จากการสำรวจครั้งที่ 2

- นำข้อมูลการสำรวจที่ได้เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อมจังหวัด เพื่อขับเคลื่อนมาตรการยุติการใช้สารเคมีฯ ในระดับจังหวัด

- จัดทำข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงแนวทางการสำรวจการใช้สารเคมีฯ ของจังหวัด

- รายงานผลการดำเนินงานรอบ 12 เดือน ตามตัวชี้วัดร้อยละ 100 ของจังหวัด

มีระบบรับแจ้งข่าว การใช้และปริมาณสารเคมีฯ ทางการเกษตร

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

 

 

 

 

 

ปี 2565:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

 

 

 

 

 

วิธีการประเมินผล

สสจ.รายงานผล ผ่านการรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข

ส่วนกลางประเมินเชิงคุณภาพ และจัดทำสรุปข้อมูลในภาพประเทศ

เอกสารสนับสนุน

แนวทางการสำรวจการใช้สารเคมีทางการเกษตร 3 ชนิด  (พาราควอต  คลอร์ไพริฟอส  ไกลโฟเสต)

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. ดร.พญ.ชุลีกร  ธนธิติกร                    ตำแหน่ง หัวหน้ากลุ่มพัฒนามาตรการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590 3865 โทรศัพท์มือถือ : 081 880 6629

โทรสาร :  02 590 3866                   E-mail : chuleekorn.md@gmail.com

2. นางสาวรุ้งประกาย วิฤทธิ์ชัย             ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590 3865          โทรศัพท์มือถือ : 089 244 6924

โทรสาร : 02 590 3866                     E-mail : rung.envocc@gmail.com

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. นางสาวขวัญนภา  อุทัยทอง             ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590 3865         โทรศัพท์มือถือ : 089 205 0914

โทรสาร : 02 590 3866                    E-mail : khwan_khwannapa@hotmail.com

2. นางสาวจุไรรัตน์  ช่วงไชยยะ            ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590 3865         โทรศัพท์มือถือ : 089 215 8047

โทรสาร : 02 590 3866                    E-mail :  c.jurairat59@gmail.com

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางสาวขวัญนภา  อุทัยทอง            ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590 3865         โทรศัพท์มือถือ : 089 205 0914

โทรสาร : 02 590 3866                    E-mail : khwan_khwannapa@hotmail.com

สถานที่ทำงาน กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค

2. นางสาวจุไรรัตน์  ช่วงไชยยะ            ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590 3865        โทรศัพท์มือถือ : 089 215 8047

โทรสาร : 02 590 3866                    E-mail :  c.jurairat59@gmail.com

สถานที่ทำงาน กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>