ระดับความสำเร็จของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการระบบการผลิตและพัฒนากำลังคนได้ตามเกณฑ์
ผลการดำเนินงาน >>ชื่อตัวชี้วัด | ระดับความสำเร็จของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการระบบการผลิตและพัฒนากำลังคนได้ตามเกณฑ์ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
Child KPI | สร้าง KPI ย่อย | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ปีงบประมาณ | 2563 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ระดับตัวชี้วัด | ประเทศ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดที่ | 052 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Sort Order | 0 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คำนิยาม | เขตสุขภาพ หมายถึง กลุ่มจังหวัดที่มีประชากรประมาณ 3-6 ล้านคนต่อเขตสุขภาพ เพื่อเป็นกลไกหลักในการบริหารจัดการพัฒนาระบบบริการสุขภาพครอบคลุม 4 มิติ ได้แก่ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษา และการฟื้นฟูสภาพ โดยมีโครงสร้างสำนักงานเขตสุขภาพดำเนินงานที่ชัดเจน การบริหารจัดการระบบการผลิตและพัฒนากำลังคน หมายถึง เขตสุขภาพมีกระบวนการในการดำเนินการเพื่อให้ได้บุคลากรด้านสุขภาพทั้งปริมาณและศักยภาพที่เพียงพอ มีขีดสมรรถนะอย่างมืออาชีพ และศักยภาพตามเกณฑ์มาตรฐานในทุกระดับสถานบริการ ประชาชนเข้าถึงบริการด้านสุขภาพได้อย่างครอบคลุมทั่วถึงทุกสิทธิ โดยมี 5 องค์ประกอบดังนี้ 1. การวางแผนการผลิตและพัฒนากำลังคน ครอบคลุม 2 ประเด็น คือ 1.1 การวางแผนการผลิต หมายถึง การวางแผนความต้องการบุคลากรในสายงานที่มีความขาดแคลนของเขตสุขภาพ 1.2.2 สายวิชาชีพเฉพาะมี 4 กลุ่มวิชาชีพ ได้แก่ 1) นักกายอุปกรณ์/ช่างกายอุปกรณ์ 2) แพทย์แผนไทย/เจ้าพนักงานสาธารณสุข (อายุรเวท) 3) นักวิชาการสาธารณสุข (เวชสถิติ)/เจ้าพนักงานเวชสถิติ 4) นักโภชนาการ/นักกำหนดอาหาร/โภชนากร 1.2.3 สายสหวิชาชีพ มี 6 กลุ่มวิชาชีพ ได้แก่ 1) ช่างทันตกรรม 2) นักกิจกรรมบำบัด/นักอาชีวบำบัด/เจ้าพนักงานอาชีวบำบัด 3) นักจิตวิทยา/จิตวิทยาคลินิก 4) นักเทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก 5) นักเวชศาสตร์สื่อความหมาย 6) นักปฏิบัติงานฉุกเฉินการแพทย์/เจ้าพนักงานเวชกิจฉุกเฉิน (ยกเว้นสายงานที่ไม่ผลิตในทุกสถาบันหลัก และ/หรือไม่มีในหน่วยงาน เช่น นักสังคมสงเคราะห์ นักวิชาการโสตทัศนศึกษา/เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษา ช่างภาพการแพทย์ ผู้ช่วยพยาบาล) 2. การสร้างความร่วมมือด้านการผลิตและพัฒนากำลังคน หมายถึง กระบวนการสร้างความสัมพันธ์และการประสานงานระหว่างหน่วยที่เกี่ยวข้อง (Stakeholder) เพื่อพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันการผลิตและพัฒนากำลังคนในเขตสุขภาพ และใช้ประโยชน์ในการพัฒนาและเพิ่มศักยภาพบุคลากรที่มีความเป็นมืออาชีพให้บริการแก่ประชาชนในเขตสุขภาพ 3. การบริหารงบประมาณด้านการพัฒนากำลังคน หมายถึง กระบวนการวางแผนการจัดสรร/การใช้/ติดตามการใช้งบประมาณ ที่สนับสนุนความต้องการกำลังคนทั้งด้านจำนวนและศักยภาพภาพที่ตอบสนองยุทธศาสตร์เขตสุขภาพ/กระทรวง/ประเทศ โดยพิจารณาจากการกำหนดเป้าหมายความต้องการกำลังคนและพัฒนาคน ผลการพัฒนา และร้อยละการใช้งบประมาณได้ตามแผนที่กำหนด 4. การบริหารจัดการด้านการผลิตและพัฒนากำลังคน หมายถึง กระบวนการในการสรรหา จัดสรร กระจาย บุคลากร ทั้งด้านจำนวนและศักยภาพ โดยกำหนดจากความต้องการนำไปสู่การวางแผนการผลิตและพัฒนาที่สอดคล้องและตอบสนองยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข 4.1 ผลการดำเนินการตามแผนความต้องการบุคลากร หมายถึง ร้อยละของบุคลากรที่ได้ตามแผนความต้องการกำลังคน 4.2 ผลการดำเนินการตามแผนพัฒนาคน หมายถึง ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามเป้าหมายของเขตสุขภาพ 5. การประเมินผลกระทบระบบการบริหารจัดการการผลิตและพัฒนากำลังคนของเขตสุขภาพ หมายถึง กระบวนการติดตามและวิเคราะห์ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานของเขตสุขภาพ ด้านการวางแผนความต้องการและพัฒนาบุคลากร/การสรรหา/การคัดสรร/การจัดบริการ เป็นต้น โดยต้องประเมินสถานการณ์ ความเสี่ยง ความคุ้มทุน และข้อขัดแย้ง/ความสมดุลทางวิชาชีพ จนเกิดผลเสียในภาพรวม โดยวัดจากสัดส่วนของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามแผน เกณฑ์เป้าหมายที่กำหนด หมายถึง ผลลัพธ์ที่คาดหวังของการดำเนินการทั้ง 5 องค์ประกอบ ตามรายละเอียดที่กำหนด ดังนี้
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยตัวชี้วัด | จำนวน | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า A | เขตสุขภาพ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า A | จำนวนเขตสุขภาพที่ผ่านเกณฑ์เป้าหมายที่กำหนด | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า B | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า B | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า C | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า C | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า D | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า D | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า E | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า E | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า F | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า F | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
สูตรคำนวนตัวชี้วัด | A | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Operator | >= | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เกณฑ์เป้าหมาย | เขตสุขภาพผ่านเกณฑ์การประเมินผลตามเกณฑ์เป้าหมายขององค์ประกอบที่ 1 - 5 ที่ระดับคะแนน 3 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย | เขตสุขภาพ 12 เขต | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ค่าเป้าหมาย | 1.00 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Max Value | - | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
วิธีการจัดเก็บข้อมูล | การสำรวจจากเขตสุขภาพการรวบรวม/วิเคราะห์/สรุปผลรายงานรอบ 6 เดือน (ไตรมาสที่ 2) / รอบ 12 เดือน (ไตรมาสที่ 4) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
แหล่งข้อมูล | จังหวัด/เขตสุขภาพ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง | ใช่ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับเขต | ใช่ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด | ใช่ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดสำคัญ | ใช่ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัด Area Base | ใช่ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Tags | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ระยะเวลาการประเมินผล | ไตรมาส 2 และ 3 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ข้อมูล Baseline |
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เกณฑ์การประเมินผล |
ปี 2563 – 2565 ระดับความสำเร็จของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการระบบการผลิตและพัฒนากำลังคนได้ตามเกณฑ์
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
วิธีการประเมินผล | วิเคราะห์ผลเปรียบเทียบเกณฑ์ที่กำหนด | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เอกสารสนับสนุน | นโยบาย/แผนกำลังคนของเขตสุขภาพ แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ยุทธศาสตร์ชาติด้านสาธารณสุข ระยะ 20 ปี | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด | กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 1. นายสรรเสริญ นามพรหม ผู้อำนวยการกองบริหารทรัพยากรบุคคล โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 1410 โทรศัพท์มือถือ : - โทรสาร : 0 2590 1421 E-mail : sansernx@gmail.com | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง) | กลุ่มประสานนโยบายและยุทธศาสตร์กำลังคนด้านสาธารณสุข กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 1. นางมาลีรัตน์ อ่ำทอง นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการพิเศษ โทรศัพท์ที่ทำงาน : - โทรศัพท์มือถือ : 063-1895856 โทรสาร : E-mail : malerat@hotmail.com | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน | กลุ่มประสานนโยบายและยุทธศาสตร์กำลังคนด้านสาธารณสุข กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 1. นางศรีนวล ศิริคะรินทร์ นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการพิเศษ โทรศัพท์ที่ทำงาน : - โทรศัพท์มือถือ : 081-6962801 โทรสาร : - E-mail : srinuans711@gmail.com | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base | - | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Areabase Kpi Regioncode | - | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หมายเหตุ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Last Update | 2021-03-24 14:22:39 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Download |