ร้อยละของจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2563
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่019
Sort Order0
คำนิยาม

ระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ หมายถึง การค้นหาและประเมินความเสี่ยง และมีกลไกการบริหารจัดการ กำกับ ติดตาม

และประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ

ดำเนินการตามเกณฑ์การประเมิน ดังนี้

ระดับพื้นฐาน

1. มีสถานการณ์ ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพในระดับพื้นที่ และสามารถบ่งชี้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ

2. มีแผนการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพในระดับพื้นที่

ระดับดี

3. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของคณะกรรมการ หรือคณะทำงานระดับจังหวัดเพื่อการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบ   ต่อสุขภาพของพื้นที่

4. มีการดำเนินงานของหน่วยปฏิบัติการหรือทีมสอบสวนโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม อย่างน้อยจังหวัดละ 1 ทีม

5. มีการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนอย่างเป็นรูปธรรม และส่งเสริมให้เกิดปัจจัยเอื้อ             ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพ อย่างน้อย 2 ประเด็น

ระดับดีมาก

6. ร้อยละ 50 ของประชาชนในจังหวัดได้รับการดูแล จัดการปัจจัยเสี่ยง และคุ้มครองสุขภาพ

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aจังหวัด
นิยามของค่า Aจำนวนจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพผ่านเกณฑ์ระดับดี
หน่วยของค่า Bจังหวัด
นิยามของค่า Bจำนวนจังหวัดทั้งหมด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 80 ของจังหวัดผ่านเกณฑ์ระดับดี
ประชากรกลุ่มเป้าหมายจังหวัด 76 จังหวัด
ค่าเป้าหมาย80.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามเกณฑ์ตัวชี้วัด และรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดในแบบฟอร์มที่กำหนด (ระบบ Google Form) เป็นรายไตรมาส

2. ศูนย์อนามัยและสำนักป้องกันควบคุมโรค นำข้อมูลจากระบบ Google Form มาวิเคราะห์ GAP ในภาพรวมของเขตสุขภาพ และจัดทำแผนปิด GAP ในปีถัดไป พร้อมจัดส่งให้กรมอนามัยและกรมควบคุมโรค

3. กรมอนามัยวิเคราะห์ข้อมูลระดับประเทศ จัดทำเป็นรายงานสรุปผลการดำเนินงานฯ รายไตรมาส และสำเนาให้กรมควบคุมโรค

4. กรมอนามัย จัดส่งรายงานผลการดำเนินงานฯ กระทรวงสาธารณสุข   

แหล่งข้อมูล

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงใช่
ตัวชี้วัดระดับเขตใช่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดใช่
ตัวชี้วัดสำคัญใช่
ตัวชี้วัด Area Baseใช่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 1, 2, 3 และ 4
ข้อมูล Baseline
 

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2560

2561

2562

ร้อยละของจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ

ร้อยละ

 

60.53

(46 จังหวัด)

 

ณ 25 กย.60

65.79

(50 จังหวัด)

 

ณ 11 กย.61

60.53

 (46 จังหวัด)

 

ณ 13 กย.62

เกณฑ์การประเมินผล

เกณฑ์การประเมิน :

ปี 2561:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมีแผนปฏิบัติการเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ

ร้อยละ 60 ของจังหวัด            มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง  จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ  ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน (จังหวัดประเมินตนเอง)

ร้อยละ 75 ของจังหวัด              มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง             จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ  ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน (ประเมินโดย ศอ. และ สคร.)

ร้อยละ 90 ของจังหวัด            มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ  ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน (ประเมินโดย ศอ. และ สคร.)

 

 

 

 

 

 

 

ปี 2562:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

ร้อยละ 100 ของจังหวัด           มีแผนปฏิบัติการ/มีการชี้แจงแนวทางการดำเนินงานฯ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ แก่หน่วยงานสาธารณสุข องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นทึ่

ร้อยละ 40 ของจังหวัด                มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน          

ร้อยละ 70 ของจังหวัด             มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน          

ร้อยละ 100 ของจังหวัด              มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน          

 

 

 

 

 

 

 

 

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

ร้อยละ 60 ของจังหวัด    มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ       ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน          

ร้อยละ 100 ของจังหวัด    มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ       ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน          

ร้อยละ 60 ของจังหวัด    มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ       ผ่านเกณฑ์ระดับดี          

ร้อยละ 80 ของจังหวัด    มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ        ผ่านเกณฑ์ระดับดี              

 

 

 

 

 

 

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

ร้อยละ 100 ของจังหวัด   มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ       ผ่านเกณฑ์ระดับดี              

ร้อยละ 40 ของจังหวัด     มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ        ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก              

ร้อยละ 50 ของจังหวัด     มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ       ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก

ร้อยละ 60 ของจังหวัด     มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ       ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก

 

 

 

 

 

 

ปี 2565:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

ร้อยละ 65 ของจังหวัด    มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก

ร้อยละ 70 ของจังหวัด    มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก

ร้อยละ 75 ของจังหวัด     มี ระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก

ร้อยละ 80 ของจังหวัด            มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ  ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก

 

วิธีการประเมินผล

1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ทำการประเมินตนเอง (ตามแบบฟอร์มที่กำหนด)

2. ศูนย์อนามัยและสำนักงานป้องกันควบคุมโรค

     2.1 ทำการทวนสอบและวิเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ทุกจังหวัด

     2.2 ประเมินผลการดำเนินงานของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัดทั้งเชิงปริมาณ (ตามแบบฟอร์มที่กำหนด) และเชิงคุณภาพ

     2.3 จัดทำสรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดฯ ภาพรวมของเขต

3. ส่วนกลาง สุ่มประเมินเชิงคุณภาพ และจัดทำสรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดฯ ภาพรวมของประเทศ

เอกสารสนับสนุน

1. ระบบสารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย (NEHIS) และคู่มือการใช้งานฯ

2. แนวทางการเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ “แนวทางการดำเนินงานตามตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบเฝ้าระวังสุขภาพ และสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตสุขภาพพิเศษเชิงอุตสาหกรรม”

http://envocc.ddc.moph.go.th/uploads/OEHP/2562/guidelinesOEHP.pdf

3. เกณฑ์สำหรับการรายงานเหตุการณ์และการออกดำเนินการสอบสวนโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมกรณีเหตุการณ์ที่มีความสำคัญสูง (DCIR)

4. แนวทางการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมสำหรับโรงพยาบาล

5. แนวทางการปฏิบัติงานสำหรับฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด คณะกรรมการสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร และคณะกรรมการเปรียบเทียบตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข

6. Animation ให้ความรู้ด้านกฎหมายสาธารณสุขและบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด

   6.1 โปรแกรมกำกับติดตามรายงานผลการดำเนินงานของคณะกรรมการตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข

   6.2 หลักสูตรอบรมให้ความรู้ด้านการบังคับใช้กฎหมายและการยกร่างข้อบัญญัติท้องถิ่นตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข

7. คู่มือการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัยและประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพในพื้นที่เสี่ยง

8. พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2562

http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/A/067/T_0215.PDF

9. คู่มือจัดตั้งและแนวทางคัดเลือกบุคคลเข้าเป็นคณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม สำหรับระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร

https://drive.google.com/open?id=1SMa8RdPlgZ-dQnMgmlARebCjVoTyuAjw

10. แนวทางการสอบสวนโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

http://envocc.ddc.moph.go.th/contents/view/461

11. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดตั้งหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ....... (อยู่ระหว่างการจัดทำอนุบัญญัติ)

12. คู่มือการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Environmental Health Accreditation: EHA)

13. แนวปฏิบัติการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม สำหรับบุคลากรสาธารณสุข (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2559) http://envocc.ddc.moph.go.th/contents/view/462

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นางสุธิดา  อุทะพันธุ์                      นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ    

โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5904383         โทรศัพท์มือถือ :  063-4515644

โทรสาร : 02-5904379                    E-mail : sutida.u@anamai.mail.go.th

กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ  กรมอนามัย

2. นางสาวปรียนิตย์ ใหม่เจริญศรี          นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5904195        

โทรสาร : 02-5904321                E-mail : preyanit.m@anamai.mail.go.th

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม  กรมอนามัย

3. นายพลากร จินตนาวิวัฒน์                  นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5904219            โทรศัพท์มือถือ : 084-8289950

โทรสาร : 02-5918180               E-mail : palakorn.c@anamai.mail.go.th

ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข  กรมอนามัย

4. นางสาวปวริศา  ดิษยาวานิช             นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-590-4179         โทรศัพท์มือถือ :  085-514-3891

โทรสาร : 02-590-4188               E-mail : pawarisa.d@anamai.mail.go.th

สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ  กรมอนามัย 

5. ดร.พญ.ชุลีกร ธนธิติกร                   นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ

โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5903865-66     โทรศัพท์มือถือ : 081-8806629

โทรสาร : 02-5903866                   E-mail : chuleekorn.md@gmail.com

กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค

6. นางสาวภัทรินทร์ คณะมี                 นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5903865-66     โทรศัพท์มือถือ : 081-8147154

โทรสาร : 02-5903866                      E-mail : k.pattarin@gmail.com

กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค

 

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. นางสาวโศรยา ชูศรี                           นักวิชาการสาธารณสุข

โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5904626              โทรศัพท์มือถือ : 082-8100058

โทรสาร : 02-5904356                          E-mail : so_z_aa@hotmail.com 

กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ  กรมอนามัย 

2. นางสาวทิตย์ติยา มั่งมี                    นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5903865-66     โทรศัพท์มือถือ : 086 995 7094

โทรสาร : 02-5903866                      E-mail : tidtiya.mm@gmail.com

กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค

3. นางสาวธิดารัตน์ คำแหงพล              นักวิชาการสาธารณสุข

โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5903865-66     โทรศัพท์มือถือ : 087-4929247

โทรสาร : 02-5903866                      E-mail : gibthida.k@gmail.com

กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางสาวนาฎอนงค์ เจริญสันติสุข      นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ  

โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5904384            โทรศัพท์มือถือ :  089-8066162

โทรสาร : 02-5904356                    E-mail : nardanongc@hotmail.com

สถานที่ทำงาน กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ  กรมอนามัย  

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base-
Areabase Kpi Regioncode-
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>