อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดอัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2563
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่034
Sort Order0
คำนิยาม

1. ผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรง หมายถึง ผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์การวินิจฉัยภาวะsevere sepsis หรือ septic shock

1.1 ผู้ป่วย severe sepsis หมายถึง ผู้ป่วยที่สงสัยหรือยืนยันว่ามีการติดเชื้อในร่างกาย ร่วมกับมี SIRS ตั้งแต่ 2 ข้อ ขึ้นไป (ตารางที่ 1) ที่เกิดภาวะ tissue hypoperfusion หรือ organ dysfunction (ตารางที่ 2) โดยที่อาจจะมีหรือไม่มีภาวะ hypotension ก็ได้ หรือมีอาการแสดงตามเกณฑ์ ข้อใดข้อหนึ่งใน 4.2 - 4.4

1.2 ผู้ป่วย septic shock หมายถึง ผู้ป่วยที่สงสัยหรือยืนยันว่ามีการติดเชื้อในร่างกาย ร่วมกับมี SIRS ตั้งแต่ 2 ข้อ ขึ้นไป (ตารางที่ 1) ที่มี hypotension ต้องใช้ vasopressors ในการ maintain MAP ≥65 mm Hg และ มีค่า serum lactate level >2 mmol/L (18 mg/dL) แม้ว่าจะได้สารน้ำเพียงพอแล้วก็ตาม

2. Community-acquired sepsis หมายถึง การติดเชื้อมาจากที่บ้านหรือที่ชุมชน โดยต้องไม่อยู่ในกลุ่ม hospital-acquired sepsis

อัตราตายจากติดเชื้อในกระแสเลือด แบ่งเป็น 2 กลุ่ม

1. อัตราตายจากcommunity-acquired sepsis

2. อัตราตายจาก hospital-acquired sepsis

3. กลุ่มเป้าหมาย ในปีงบประมาณ 2562 จะมุ่งเน้นที่กลุ่มcommunity – acquired sepsis เพื่อพัฒนาให้ มีระบบข้อมูลพื้นฐานให้เหมือนกัน ทั้งประเทศ แล้วจึงขยายไปยัง hospital-acquired sepsis ในปีถัดไป

4. การคัดกรองผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรง หมายถึง การคัดกรองผู้ป่วยทั่วไปที่อาจจะเกิดภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงเพี่อน้าไปสู่การวินิจฉัยภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงต่อไปซึ่งเครื่องมือที่ใช้ (sepsis screening tools) ข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้

4.1 ผู้ป่วยที่สงสัยหรือยืนยันว่ามีการติดเชื้อในร่างกาย ร่วมกับมี SIRS ตั้งแต่ 2 ข้อ ขึ้นไป (ตารางที่ 1) ที่เกิดภาวะ tissue hypoperfusionหรือ organ dysfunction (ตารางที่ 2)หรือ มี hypotension ต้องใช้ vasopressors ในการ maintain MAP ≥65 mm Hg และ มีค่า serum lactate level >2 mmol/L (18 mg/dL) แม้ว่าจะได้สารน้ำเพียงพอแล้วก็ตาม

4.2 qSOFA ตั้งแต่ 2 ข้อ ขึ้นไป(ตารางที่ 3)

4.3 SOS score (search out severity) ตั้งแต่ 4 ข้อ ขึ้นไป (ตารางที่ 4)

4.4 Modified Early Warning Score (MEWS) (ตารางที่ 5)

5.ฐานข้อมูลของโรงพยาบาล หมายถึง ข้อมูลจาก ICD 10 และ/หรือฐานข้อมูลอื่น ๆ ของแต่ละโรงพยาบาล

ภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงเป็นภาวะวิกฤตที่มีความสำคัญพบว่าอัตราอุบัติการณ์มีแนวโน้มสูงขึ้นและอัตราเสียชีวิตสูงขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยง เช่น ผู้ที่รับยากดภูมิคุ้มกัน นอกจากนี้ยังพบว่าแนวโน้มของเชื้อดื้อยาเพิ่มขึ้น ส่งผลให้การรักษาผู้ป่วยไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร นอกจากนี้ยังพบว่าการติดเชื้อในกระแสเลือดส่งผลให้อวัยวะต่าง ๆ ทำงานผิดปกติ ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ตามมาได้แก่ ภาวะช็อก,ไตวาย การท้างานอวัยวะต่าง ๆ ล้มเหลว และเสียชีวิตในที่สุด

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aคน
นิยามของค่า Aจำนวนผู้ป่วยที่เสียชีวิต (dead) จากภาวะการติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquiredที่ลง ICD 10 รหัส R 65.1 และ R57.2 ใน Principle Diagnosis และ Comorbidity ไม่นับรวมที่ลงใน Post Admission Comorbidity (complication) และไม่นับรวมผู้ป่วย palliative (รหัส Z 51.5)
หน่วยของค่า Bคน
นิยามของค่า Bจำนวนผู้ป่วยที่ปฏิเสธการรักษาเพื่อกลับไปเสียชีวิตที่บ้าน (against advise) จากภาวะการติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquiredที่ลง ICD 10 รหัส R 65.1 และ R57.2 ใน Principle Diagnosis และ Comorbidity ไม่นับรวมที่ลงใน Post Admission Comorbidity (complication) และไม่นับรวมผู้ป่วย palliative (รหัส Z 51.5)โดยมีสถานภาพการจ้าหน่าย (Discharge status) = 2 ปฏิเสธการรักษา, และวิธีการจำหน่าย (Discharge type) = 2 ดีขึ้น
หน่วยของค่า Cคน
นิยามของค่า Cจำนวนผู้ป่วยที่ปฏิเสธการรักษาเพื่อกลับไปเสียชีวิตที่บ้าน (against advise) จากภาวะการติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired ที่ลง ICD 10 รหัส R 65.1 และ R57.2 ใน Principle Diagnosis และ Comorbidity ไม่นับรวมที่ลงใน Post Admission Comorbidity (complication) และไม่นับรวมผู้ป่วย palliative (รหัส Z 51.5)โดยมีสถานภาพการจ้าหน่าย (Discharge status) = 2 ปฏิเสธการรักษา, และวิธีการจำหน่าย (Discharge type) = 3 ไม่ดีขึ้น
หน่วยของค่า Dคน
นิยามของค่า Dจำนวนผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired ทั้งหมด ที่ลง ICD 10 รหัส R 65.1 และ R57.2 ใน Principle Diagnosis และ Comorbidity ไม่นับรวมที่ลงใน Post Admission Comorbidity (complication) และไม่นับรวมผู้ป่วย palliative (รหัส Z 51.5)
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A+C)/D*100
Operator<
เกณฑ์เป้าหมาย<ร้อยละ 28
ประชากรกลุ่มเป้าหมายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลทุกระดับ
ค่าเป้าหมาย28.00
Max Value28.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

รายงานการเสียชีวิตจากการติดเชื้อในกระแสเลือด ตามแนวทางการเก็บข้อมูลจาก ICD-10 โดยใช้การประเมินข้อมูลจาก Health Data Center (HDC) กระทรวงสาธารณสุขโดยน้าเสนอในภาพรวมของจังหวัด หรือ ภาพรวมของเขตสุขภาพ 

แหล่งข้อมูล

ฐานข้อมูลของโรงพยาบาลหรือ ฐานข้อมูลจากการประเมินข้อมูลจาก Health Data Center (HDC) กระทรวงสาธารณสุข หรือเก็บผ่านโปรแกรมอื่น ๆที่มีประสิทธิภาพได้ใกล้เคียงกัน 

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลทุก 6 เดือน
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

 

ผลการดำเนินงาน

2559

2560

2561

 

อัตราผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรง

ร้อยละ

34.79

32.03

34.65

 

 
เกณฑ์การประเมินผล

เกณฑ์การประเมิน

1. มีคณะทำงานเป็นทีมสหสาขาวิชาชีพของโรงพยาบาลแต่ละระดับ

2. มีการพัฒนาเครือข่าย ของโรงพยาบาล และประสานงานระหว่างทีมสหสาขาวิชาชีพของโรงพยาบาลแต่ละระดับ

3. มีผลการติดตามกำกับการดำเนินงานตัวชี้วัดหลัก ดังนี้

ปี 2563 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired sepsis น้อยกว่าร้อยละ 28

-

อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired sepsis น้อยกว่าร้อยละ 28

-

อัตราการได้รับ Antibiotic ภายใน 1 ชม.(นับจากเวลาที่ได้รับการวินิจฉัย) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

-

อัตราการได้รับ Antibiotic ภายใน 1 ชม.(นับจากเวลาที่ได้รับการ

วินิจฉัย) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

-

อัตราการเจาะ  H/C ก่อนให้ Antibiotic ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

-

อัตราการเจาะ  H/C ก่อนให้ Antibiotic ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

-

อัตราการได้รับ IV 30 ml/kg ใน 1 ชม. แรก (ในกรณีที่ไม่มีข้อห้าม) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

-

อัตราการได้รับ IV 30 ml/kg ใน 1 ชม. แรก (ในกรณีที่ไม่มีข้อห้าม) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

-

อัตราที่ผู้ป่วยได้รับการดูแลแบบภาวะวิกฤต (ระดับ 2-3) ภายใน 3 ชม. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30

-

อัตราที่ผู้ป่วยได้รับการดูแลแบบภาวะวิกฤต (ระดับ 2-3) ภายใน 3 ชม. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30

-

มีระบบ Rapid response team ตามเกณฑ์ที่กำหนด  (ตารางที่ 6)

-

มีระบบ Rapid response team ตามเกณฑ์ที่กำหนด (ตารางที่ 6)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ปี 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired sepsis น้อยกว่าร้อยละ 26

-

อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired sepsis น้อยกว่าร้อยละ  26

 

 

 

 

 

ปี 2565 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired sepsis น้อยกว่าร้อยละ 24 และ hospital-acquired sepsis น้อยกว่าร้อยละ 50

-

อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired sepsis น้อยกว่าร้อยละ 24 และ

hospital-acquired sepsis น้อยกว่าร้อยละ 50

 

วิธีการประเมินผล

1. รายงานผลจากฐานข้อมูล HDC หรือฐานข้อมูลของแต่ละโรงพยาบาลโดยนำเสนอในภาพรวมของจังหวัด และ ภาพรวมของเขตสุขภาพ

2. เกณฑ์การให้คะแนน:

ใช้อัตราความสำเร็จในการรักษาแยกเป็นระดับจังหวัด และเขตสุขภาพ โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนตามอัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรง ดังนี้

คะแนน               

1          สูงกว่าเกณฑ์เป้าหมายที่กำหนด ร้อยละ40

2          ต่ำกว่าเกณฑ์เป้าหมายที่กำหนด ร้อยละ10

3          สูงกว่าเกณฑ์เป้าหมายที่กำหนด ร้อยละ20

4          ตามเกณฑ์เป้าหมายที่กำหนด  รายปี

5          ต่ำกว่าเกณฑ์เป้าหมายที่กำหนด ร้อยละ20

 

 

 

 

 

 

 

 

เอกสารสนับสนุน

แนวทางการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือด โดยสมาคมเวชบำบัดวิกฤตแห่งประเทศไทย

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นพ.พจน์ อินทลาภาพร                    นายแพทย์เชี่ยวชาญ โรงพยาบาลราชวิถี

โทรศัพท์มือถือ : 081- 612 5891           E–mail :drpojin@yahoo.com

2. นพ.รัฐภูมิ ชามพูนท อายุรแพทย์         สำนักงานสาธารณสุข จ.พิษณุโลก

โทรศัพท์มือถือ : 081- 596 8535           E–mail : mr.sepsis@yahoo.com

3. นพ.นิพนธ์ เฉลิมพันธ์ชัย อายุรแพทย์ รพ.ล้าปาง

โทรศัพท์มือถือ : 088-2518036             E–mail : crisis27@gmail.com 

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. กองตรวจราชการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2 .สำนักนิเทศระบบการแพทย์กรมการแพทย์

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นพ.ภัทรวินฑ์ อัตตะสาระ                   รองผู้อำนวยการสำนักนิเทศระบบการแพทย์

                                                          กรมการแพทย์

โทรศัพท์ที่ท้างาน : 02-5906357           โทรศัพท์มือถือ : 081-9357334

โทรสาร 02-965-9851                       E-mail : pattarawin@gmail.com

3. นายปวิช อภิปาลกุล                       นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ท้างาน: 0 2590 6350        โทรศัพท์มือถือ: 09 8546 3564

โทรสาร: 0 2591 8279                      E-mail: eva634752@gmail.com

กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กรมการแพทย์   

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-06-24 16:30:48
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>