ร้อยละการตรวจติดตามกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงาน >>ชื่อตัวชี้วัด | ร้อยละการตรวจติดตามกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง | |||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
Child KPI | สร้าง KPI ย่อย | |||||||||||||||||||
ปีงบประมาณ | 2563 | |||||||||||||||||||
ระดับตัวชี้วัด | ประเทศ | |||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดที่ | 013.2 | |||||||||||||||||||
Sort Order | 0 | |||||||||||||||||||
คำนิยาม | 1. กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง หมายถึง ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงและมีค่าระดับความดันโลหิตตัวบน (SBP) ในช่วง 140-179 mmHg และ/หรือค่าระดับความดันโลหิตตัวล่าง (DBP) ในช่วง 90-109 mmHg ในเขตรับผิดชอบและยังไม่ได้รับการวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูงในปีงบประมาณ 2. การได้รับการตรวจติดตาม หมายถึง การตรวจวัดความดันโลหิตซ้ำที่บ้าน ตามแนวทางการวัดความดันโลหิตที่บ้าน *(เอกสารแนบ) หลังจากได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงที่สถานบริการสาธารณสุข หรือในชุมชนแล้ว | |||||||||||||||||||
หน่วยตัวชี้วัด | ร้อยละ | |||||||||||||||||||
หน่วยของค่า A | คน | |||||||||||||||||||
นิยามของค่า A | จำนวนประชากรสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน* | |||||||||||||||||||
หน่วยของค่า B | คน | |||||||||||||||||||
นิยามของค่า B | จำนวนประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงและเป็นกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในปีงบประมาณ | |||||||||||||||||||
หน่วยของค่า C | ||||||||||||||||||||
นิยามของค่า C | ||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า D | ||||||||||||||||||||
นิยามของค่า D | ||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า E | ||||||||||||||||||||
นิยามของค่า E | ||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า F | ||||||||||||||||||||
นิยามของค่า F | ||||||||||||||||||||
สูตรคำนวนตัวชี้วัด | (A/B)x100 | |||||||||||||||||||
Operator | >= | |||||||||||||||||||
เกณฑ์เป้าหมาย | ≥ ร้อยละ 52 | |||||||||||||||||||
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย | ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไปในเขตรับผิดชอบ (type area 1 และ 3) ที่ได้รับการคัดกรองว่าเป็นกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในปีงบประมาณ | |||||||||||||||||||
ค่าเป้าหมาย | 52.00 | |||||||||||||||||||
Max Value | 100.00 | |||||||||||||||||||
วิธีการจัดเก็บข้อมูล | 1. บันทึกผ่านโปรแกรมพื้นฐานของหน่วยบริการ และส่งออกข้อมูลตามมาตรฐานข้อมูล 43 แฟ้ม เข้าสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 2. กรณีข้อมูลการวัดความดันโลหิตที่บ้านให้บันทึกผ่านระบบ HDC | |||||||||||||||||||
แหล่งข้อมูล | ระบบรายงาน HDC กระทรวงสาธารณสุข | |||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง | - | |||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับเขต | - | |||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด | - | |||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดสำคัญ | - | |||||||||||||||||||
ตัวชี้วัด Area Base | - | |||||||||||||||||||
Tags | ||||||||||||||||||||
ระยะเวลาการประเมินผล | ไตรมาส 4 | |||||||||||||||||||
ข้อมูล Baseline |
| |||||||||||||||||||
เกณฑ์การประเมินผล |
| |||||||||||||||||||
วิธีการประเมินผล | ติดตามจากระบบรายงาน HDC กระทรวงสาธารณสุข หมายเหตุ * B : กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่มีค่าระดับความดันโลหิตตัวบน (SBP) ในช่วง 140-179 mmHg และ/หรือค่าระดับความดันโลหิต ตัวล่าง (DBP) ในช่วง 90-109 mmHg ในเขตรับผิดชอบและยังไม่ได้รับการวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูง
* A : กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ที่มีค่าระดับความดันโลหิตตัวบน (SBP) ในช่วง 140-179 mmHg และ/หรือค่าระดับความดันโลหิต ตัวล่าง (DBP) ในช่วง 90-109 mmHg ในเขตรับผิดชอบและยังไม่ได้รับการวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูง และได้รับการทำ Home BP โดยต้องรายงานผลค่าเฉลี่ย Home BP ถัดจากวันสงสัยป่วย อย่างน้อย 8 วันและไม่เกิน 120 วัน ตัวอย่างการคำนวณเป้าหมายผลงาน 1. ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเป็นกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในวันที่ 1 กันยายน 2562 จะต้องได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้านภายใน 120 วัน ดังนั้นวันสุดท้ายของการวัดความดันโลหิตที่บ้าน จะต้องไม่เกินวันที่ 30 ธันวาคม 2562 จึงจะนับเป็นเป้าหมายและผลการดำเนินงานของไตรมาส 1 ปีงบประมาณ 2563 2. ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเป็นกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2562 จะต้องได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้านภายใน 120 วัน ดังนั้นวันสุดท้ายของการวัดความดันโลหิตที่บ้าน จะต้องไม่เกินวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2563 จึงจะนับเป็นเป้าหมายและผลการดำเนินงานของไตรมาส 2 ปีงบประมาณ 2563 | |||||||||||||||||||
เอกสารสนับสนุน | รูปแบบการบริการป้องกันควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โดยกองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค | |||||||||||||||||||
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด | 1.แพทย์หญิงศศิธร ตั้งสวัสดิ์ ผู้อำนวยการกองโรคไม่ติดต่อ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5903893 โทรศัพท์มือถือ : โทรสาร : 02-5903893 E-mail : Sasitth@gmail.com 2.แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ รองผู้อำนวยการกองโรคไม่ติดต่อ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5903893 โทรศัพท์มือถือ : โทรสาร : 02-5903893 E-mail : jurekong@hotmail.com 3.นางศรีเพ็ญ สวัสดิมงคล หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์ แผนและประเมินผล โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5903887 โทรศัพท์มือถือ : โทรสาร : 02-5903893 E-mail : ncdplan@gmail.com 4.นายแพทย์อรรถเกียรติ กาญจนพิบูลวงศ์ หัวหน้ากลุ่มเทคโนโลยี ระบาดวิทยาและ มาตรการชุมชน โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5903892 โทรศัพท์มือถือ : 0818201894 โทรสาร : 02-5903893 E-mail : auttakiat@yahoo.com
| |||||||||||||||||||
หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง) | กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค | |||||||||||||||||||
ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน | 1.นายแพทย์อรรถเกียรติ กาญจนพิบูลวงศ์ หัวหน้ากลุ่มเทคโนโลยี ระบาดวิทยาและมาตรการชุมชน โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5903892 โทรศัพท์มือถือ : 0818201894 โทรสาร : 02-5903893 E-mail : auttakiat@yahoo.com 2.นางสาวสุธาทิพย์ ภัทรกุลวณิชย์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5903892 โทรศัพท์มือถือ : โทรสาร : 02-5903893 E-mail : suthathip.ncd@gmail.com 3.นางสาวคุณกัญญ์ศศิ พิมพขันธ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5903892 โทรศัพท์มือถือ : โทรสาร : 02-5903893 E-mail : kunkansasi89@gmail.com 4.นายกัณฑพล ทับหุ่น นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5903892 โทรศัพท์มือถือ : โทรสาร : 02-5903893 E-mail : kanthabhon@gmail.com 5.นางสาวณัฐกฤตา บริบูรณ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5903887 โทรศัพท์มือถือ : โทรสาร : 02-5903893 E-mail : ncdplan@gmail.com | |||||||||||||||||||
รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base | 0 | |||||||||||||||||||
Areabase Kpi Regioncode | 0 | |||||||||||||||||||
หมายเหตุ | ||||||||||||||||||||
Last Update | 2021-03-24 14:41:40 | |||||||||||||||||||
Download |