ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลตาม care plan
ผลการดำเนินงาน >>ชื่อตัวชี้วัด | ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลตาม care plan | ||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
Child KPI | สร้าง KPI ย่อย | ||||||||||||||||||||||||
ปีงบประมาณ | 2563 | ||||||||||||||||||||||||
ระดับตัวชี้วัด | ประเทศ | ||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดที่ | 007 | ||||||||||||||||||||||||
Sort Order | 0 | ||||||||||||||||||||||||
คำนิยาม | ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง คือ ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน (ADL 5 - 11 คะแนน) กลุ่มติดเตียง (ADL 0 - 4 คะแนน) ได้รับการดูแลโดยบุคลากรสาธารณสุข ทีมสหวิชาชีพ ตามแผนการดูแลผู้สูงอายุรายบุคคล (Care Plan) ทุกสิทธิ์ที่ได้รับบริการตามชุดสิทธิประโยชน์ | ||||||||||||||||||||||||
หน่วยตัวชี้วัด | ร้อยละ | ||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า A | ตำบล | ||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า A | จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่ได้รับการดูแลตาม Care Plan | ||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า B | ตำบล | ||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า B | จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงทั้งหมดในประเทศไทยที่เข้าร่วมโครงการ LTC | ||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า C | |||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า C | |||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า D | |||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า D | |||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า E | |||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า E | |||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า F | |||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า F | |||||||||||||||||||||||||
สูตรคำนวนตัวชี้วัด | (A/B)*100 | ||||||||||||||||||||||||
Operator | >= | ||||||||||||||||||||||||
เกณฑ์เป้าหมาย | ร้อยละ 80 | ||||||||||||||||||||||||
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย | ผู้สูงอายุทุกคนทั่วประเทศ ดำเนินการทุกจังหวัด อำเภอ ตำบล ทั่วประเทศ | ||||||||||||||||||||||||
ค่าเป้าหมาย | 80.00 | ||||||||||||||||||||||||
Max Value | 100.00 | ||||||||||||||||||||||||
วิธีการจัดเก็บข้อมูล | ข้อมูลการจัดทำ Care Plan ผู้สูงอายุรายบุคคล - พื้นที่จัดทำ Care Plan รายบุคคล ผ่านระบบโปรแกรม Long Term Care ( 3C ) - เสนอ Care Plan ผ่านคณะอนุกรรมการกองทุน Long Term Care ระดับตำบล - Care Manager ระดับพื้นที่บันทึกข้อมูลระบบผลการอนุมัติรายงาน Care Plan ตาม ระบบโปรแกรม Long Term Care ทั้งในระบบของสำนักหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ องค์กรปกครองท้องถิ่นและกรมอนามัย - การรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด โดยการรายงานผ่านระบบโปรแกรม Long Term Care (3C) ส่วนกลางโดย กรมอนามัยจะดำเนินการดึงข้อมูลจากระบบโปรแกรม ตรวจสอบ ความถูกต้องส่งผ่านระบบ E - Cockpit ของกองตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข และ คืนข้อมูลให้กับศูนย์อนามัยเขตๆ ส่งคืนข้อมูลให้กับภาคีเครือข่ายระดับพื้นที่ต่อไปตามลำดับ - ระดับกรมอนามัยเชื่อมต่อกับระบบฐานข้อมูลระบบโปรแกรม DOH Dashboard กรม อนามัย เพื่อการตรวจสอบข้อมูลย้อนหลังและเป็นฐานข้อมูลกลางด้านผู้สูงอายุของ ประเทศต่อไป | ||||||||||||||||||||||||
แหล่งข้อมูล | ฐานข้อมูลระบบโปรแกรม Long Term Care รายงานประจำเดือน กรมอนามัย ฐานข้อมูลระบบโปรแกรม DOH Dashboard กรมอนามัย และฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ระบบฐานข้อมูลโปรแกรม HDC กระทรวงสาธารณสุข | ||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง | ใช่ | ||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับเขต | ใช่ | ||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด | ใช่ | ||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดสำคัญ | ใช่ | ||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัด Area Base | ใช่ | ||||||||||||||||||||||||
Tags | |||||||||||||||||||||||||
ระยะเวลาการประเมินผล | ไตรมาส 2, 3 และ 4 | ||||||||||||||||||||||||
ข้อมูล Baseline | ข้อมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2562
| ||||||||||||||||||||||||
เกณฑ์การประเมินผล | ปี 2563:
ปี 2564:
ปี 2565:
| ||||||||||||||||||||||||
วิธีการประเมินผล | 1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมีการวางแผนการพัฒนาระบบการประเมินคัดกรอง/การจัดทำ Care Plan ตามระบบโปรแกรม Care Plan Online 2. ระดับจังหวัด/เขต สามารถจัดทำระบบการรายงานผลการดำเนินงาน และการพัฒนา ทักษะบุคลากรให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ 3. ผลงานเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมาย รายไตรมาส ตามค่าเป้าหมายรอบ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน และรอบ 12 เดือน | ||||||||||||||||||||||||
เอกสารสนับสนุน | 1.คู่มือแนวทางการจัดทำ Care Plan Online 2.ระบบโปรแกรมการทำ Care Plan Online 3.กลยุทธ์การดำเนินงานตำบลดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้มีภาวะพึ่งพิงระยะยาว 4.แนวทางการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้มีภาวะพึ่งพิงระยะยาว 5.แนวทางการฝึกอบรม หลักสูตร Caregiver 70 ชั่วโมง 6.แนวทางการฝึกอบรม หลักสูตร Caregiver 420 ชั่วโมง 7.แนวทางการอบรมผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care Manager) 8.แนวทางการอบรมอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่นตามหลักสูตรนักบริบาลท้องถิ่น 9.คู่มือสนับสนุนการบริหารจัดการระบบบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ | ||||||||||||||||||||||||
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด | ผู้กำกับตัวชี้วัด 1. แพทย์หญิงพรรณพิมล วิปุลากร อธิบดีกรมอนามัย โทรศัพท์ 02 590 4049 2. นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์ รองอธิบดีกรมอนามัย โทรศัพท์ 02 590 4010-1 E- mail : atthapon.k@anamai.mail.go.th ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ /ผู้ประสานตัวชี้วัด 1. นายแพทย์กิตติ ลาภสมบัติศิริ ผู้อำนวยการสำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย โทรศัพท์ 02 590 4503 E- mail : kitti.l@anamai.mail.go.th 2. นางวิมล บ้านพวน รองผู้อำนวยการสำนักอนามัยผู้สูงอายุ โทรศัพท์ 02 590 4793 E- mail : vimol.b@anamai.mail.go.th | ||||||||||||||||||||||||
หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง) | สำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย | ||||||||||||||||||||||||
ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน | 1. นางรัชนี บุญเรืองศรี นักสังคมสงเคราะห์ชำนาญการพิเศษ โทรศัพท์ 02 590 4508 E- mail : rachanee.b@anamai.mail.go.th 2. กลุ่มงานบริหารยุทธศาสตร์ สำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย โทรศัพท์ 02 590 4499 | ||||||||||||||||||||||||
รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base | - | ||||||||||||||||||||||||
Areabase Kpi Regioncode | - | ||||||||||||||||||||||||
หมายเหตุ | |||||||||||||||||||||||||
Last Update | 2021-03-24 14:22:39 | ||||||||||||||||||||||||
Download |