ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ทั้งหมดตามช่วงอายุที่กำหนดมีพัฒนาการสมวัย

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ทั้งหมดตามช่วงอายุที่กำหนดมีพัฒนาการสมวัย
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2563
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่002
Sort Order0
คำนิยาม

- เด็กอายุ 0 - 5 ปี หมายถึง เด็กแรกเกิด จนถึงอายุ 5 ปี 11 เดือน 29 วัน

- พัฒนาการสมวัย หมายถึง เด็กทุกคนได้รับตรวจคัดกรองพัฒนาการโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) แล้วผลการตรวจคัดกรอง ผ่านครบ 5 ด้าน ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการครั้งแรก รวมกับเด็กที่พบพัฒนาการสงสัยล่าช้าและได้รับการติดตามให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ และประเมินซ้ำแล้วผลการประเมิน ผ่านครบ 5 ด้านภายใน 30 วัน(1B260)

คำนิยามเพิ่มเติม

  • การคัดกรองพัฒนาการ หมายถึง ความครอบคลุมของการคัดกรองเด็กอายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ณ ช่วงเวลาที่มีการคัดกรองโดยเป็นเด็กในพื้นที่ (Type1: มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ตัวอยู่จริงและ Type3 : ที่อาศัยอยู่ในเขต แต่ทะเบียนบ้านอยู่นอกเขต)
  • พัฒนาการสงสัยล่าช้า หมายถึง เด็กที่ได้รับตรวจคัดกรองพัฒนาการโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) และ ผลการตรวจคัดกรองพัฒนาการตามอายุของเด็กในการประเมินพัฒนาการครั้งแรกผ่านไม่ครบ     5 ด้าน ทั้งเด็กที่ต้องแนะนำให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ส่งเสริมพัฒนาการตามวัยภายใน 30 วัน (1B261) รวมกับเด็กที่สงสัยล่าช้า  ส่งต่อทันที (1B262 : เด็กที่พัฒนาการล่าช้า/ความผิดปกติอย่างชัดเจน)
  • พัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการติดตาม หมายถึง เด็กที่ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการตามอายุของเด็กในการประเมินพัฒนาการครั้งแรกผ่านไม่ครบ 5 ด้าน เฉพาะกลุ่มที่แนะนำให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ส่งเสริมพัฒนาการตามวัยภายใน 30 วัน (1B261) แล้วติดตามกลับมาประเมินคัดกรองพัฒนาการครั้งที่ 2
  • เด็กพัฒนาการล่าช้า หมายถึง เด็กที่ได้รับตรวจคัดกรองพัฒนาการโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(DSPM) แล้วผลการตรวจคัดกรอง ไม่ผ่านครบ 5 ด้าน ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการครั้งแรกและครั้งที่ 2 (1B202, 1B212, 1B222, 1B232, 1B242)
หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aคน
นิยามของค่า Aเด็กไทยอายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ทุกคนที่อยู่อาศัยในพื้นที่รับผิดชอบ
หน่วยของค่า Bคน
นิยามของค่า Bเด็กไทยอายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ทุกคนที่อยู่อาศัยในพื้นที่รับผิดชอบที่ได้รับการตรวจคัดกรอง และพัฒนาการสมวัยครั้งแรกและหลังการติดตาม(1B260)
หน่วยของค่า Cคน
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)x100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 85
ประชากรกลุ่มเป้าหมายเด็กไทยอายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ทุกคนที่อยู่อาศัยในพื้นที่รับผิดชอบ (Type1 มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ตัวอยู่จริงและType3 ที่อาศัยอยู่ในเขต แต่ทะเบียนบ้านอยู่นอกเขต)
ค่าเป้าหมาย85.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1. สถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ นำข้อมูลการการประเมินพัฒนาการเด็ก บันทึกในโปรแกรมหลักของสถานบริการฯ เช่น JHCIS HosXP PCU เป็นต้น และส่งออกข้อมูลตามโครงสร้างมาตรฐาน 43 แฟ้ม

2. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ในระบบ Health Data Center (HDC SERVICE) กระทรวงสาธารณสุข วิเคราะห์และจัดทำสรุปรายงานและประเมินผลตามเกณฑ์เป้าหมายในแต่ละรอบของพื้นที่

3. ศูนย์อนามัยและสถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ  วิเคราะห์ข้อมูลสรุปรายงานและให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

แหล่งข้อมูล

สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่ง /สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 1,2,3 และ 4
ข้อมูล Baseline

 

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2560

2561

2562

ร้อยละเด็ก

0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย

ร้อยละ

(ปรับตัวหาร)

 

ปี 2560

ปี 2561

ปี 2562

เป้าหมาย

1,893,854

1,807,337

1,286,671

สมวัย

1,477,430

1,458,212

1,156,153

ร้อยละ

78.0

80.7

89.9

 

ร้อยละ

95.9

96.5

97.5

 
เกณฑ์การประเมินผล

เกณฑ์การประเมิน :

ปี 2561:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

ร้อยละ 80

ร้อยละ 80

ร้อยละ 80

ร้อยละ 80

 

 

 

 

ปี 2562:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

ร้อยละ 85

ร้อยละ 85

ร้อยละ 85

ร้อยละ 85

 

 

 

 

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

ร้อยละ 85

ร้อยละ 85

ร้อยละ 85

ร้อยละ 85

 

 

 

 

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

ร้อยละ 85

ร้อยละ 85

ร้อยละ 85

ร้อยละ 85

 

 

 

 

ปี 2565:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

ร้อยละ 85

ร้อยละ 85

ร้อยละ 85

ร้อยละ 85

 

 
วิธีการประเมินผล

ใช้ข้อมูลจากระบบ Health Data Center (HDC) กระทรวงสาธารณสุข

ประมวลผลทุก 30 วัน (ทุกเดือน)

การดึงข้อมูลจาก HDC ต้องรอการบันทึกข้อมูลสมบูรณ์ อย่างน้อย 45 วัน

เอกสารสนับสนุน

1.สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก

2.คู่มือนักส่งเสริมพัฒนาการเด็กหลักสูตรเร่งรัด ประจำโรงพยาบาล

3.คู่มือ DSPM (ฉบับปรับปรุง เป็นไฟล์อิเล็กทรอนิกส์และ QR Code เชื่อมคลิปวีดีโอ) และ คู่มือ DSPM ฉบับพ่อแม่ (ครอบครัว) (เป็นไฟล์อิเล็กทรอนิกส์)

4.คู่มือมิสนมแม่

5.คู่มือเฝ้าระวังการควบคุมการส่งเสริมการตลาด อาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก

6.คู่มือคลินิกเด็กดีคุณภาพ

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นางนนธนวนัณท์  สุนทรา            ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 5883088 ต่อ 3132 โทรศัพท์มือถือ : 092 624 2456

2. นายแพทย์ธีรชัย    บุญยะลีพรรณ   รองผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 5883088  ต่อ 3131 โทรศัพท์มือถือ : 089 144 4208

   E-mail : teerboon@hotmail.com

3. นางประภาพร จังพาณิชย์    นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 5904425  โทรศัพท์มือถือ : 087 077 1130

    E-mail : prapapon.j@anamai.mail.go.th

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย

2. สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ กรมอนามัย

3. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นายสุทิน ปุณฑริกภักดิ์                นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ   

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 588 3088 ต่อ 3111   E-mail : sutin.p@anamai.mail.go.th  

2. นางสาวพรชเนตต์   บุญคง           นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 588 3088 ต่อ 4100   โทรศัพท์มือถือ : 086 359 6215

E-mail :  phonchanet@hotmail.com

3. นางสาวพิชชานันท์  ทองหล่อ        นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 588 3088 ต่อ 3112   โทรศัพท์มือถือ : 090 918 9835

E-mail :  pichanun_tuan@hotmail.com

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>