ร้อยละของ Healthy Ageing

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของ Healthy Ageing
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2560
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่013
Sort Order0
คำนิยาม

ผู้สูงอายุ หมายความตาม พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 หมายถึง บุคคลซึ่งมีอายุตั้งแต่หกสิบปีบริบูรณ์ขึ้นไป

Healthy Ageing หมายถึง ผู้สูงอายุกลุ่มที่ช่วยเหลือตนเองได้ในการดำเนินกิจวัตรประจำวัน (Independent) ซึ่งวัดได้จากการแบ่งตามกลุ่มศักยภาพ โดยใช้ผลการคัดกรองสมรรถนะเพื่อการดูแล ด้วยเครื่องมือ Activity of Daily Living (ADL) ซึ่งเมื่อประเมินแล้ว จะหมายถึงกลุ่มที่มีคะแนน มากกว่าหรือเท่ากับ 12 คะแนน

การคัดกรอง/ประเมินผู้สูงอายุ หมายถึง การคัดกรองและประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ รายละเอียดการคัดกรอง/ประเมิน เป็นไปตามแนวทาง “คู่มือการคัดกรอง/ประเมินผู้สูงอายุ” กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งได้ดำเนินการถ่ายทอดไปยัง Aging manager

และผู้ปฏิบัติระดับเขต, จังหวัด, อำเภอ, ตำบล ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2557 ในประเด็น

  • คัดกรองปัญหาสำคัญและโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
  • คัดกรองกลุ่ม Geriatric Syndromes
  • ประเมินสมรรถนะผู้สูงอายุเพื่อการดูแล
หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aคน
นิยามของค่า Aจำนวนผู้สูงอายุกลุ่มที่ช่วยเหลือตนเองได้ในการดำเนินกิจวัตรประจำวัน (Independent)
หน่วยของค่า Bคน
นิยามของค่า Bผู้สูงอายุทุกคน (ผู้ที่มีอายุ 60 ปี บริบูรณ์ขึ้นไป) ที่ได้รับการประเมินสมรรถนะผู้สูงอายุเพื่อการดูแล
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 85
ประชากรกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุทุกคน (ผู้ที่มีอายุ 60 ปี บริบูรณ์ขึ้นไป) ที่ได้รับการคัดกรอง/ประเมินสมรรถนะผู้สูงอายุเพื่อการดูแลด้วย Activity of Daily Living (ADL)
ค่าเป้าหมาย85.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1) ฐานข้อมูลการคัดกรอง/ประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ (โปรแกรม AGE APP)
    พัฒนาโดย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

2) สรุปผลการประเมิน ADL ผู้สูงอายุในพื้นที่อำเภอ ตำบล หมู่บ้านฯ

3) การจัดเก็บ รวบรวม ติดตามผล โดยสำนักตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุขและ

    สำนักนิเทศการแพทย์ กรมการแพทย์

แหล่งข้อมูล

ทั้งประเทศ / รายเขต / อำเภอ / ตำบล / รายบุคคล (ได้จากฐานข้อมูล

โดยการตรวจราชการโดยสำนักตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข และสำนักนิเทศการแพทย์ กรมการแพทย์) หรือ การประเมินผลและติดตามคุณภาพข้อมูล, การนิเทศ, สุ่มสำรวจ (กรณีที่ยังไม่ได้รับข้อมูลจากการตรวจราชการ/นิเทศ)

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงไม่
ตัวชี้วัดระดับเขตไม่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดไม่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 2 และ 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2557

2558

2559

ผู้สูงอายุกลุ่มที่ช่วยเหลือตนเองได้ในการดำเนินกิจวัตรประจำวัน (Independent)

 

**ที่มา: 4th National Health xamination survey, Thailand.

ร้อยละ

85.0

 

-

 

 

 

 

**รอสรุปข้อมูลจากผลการตรวจราชการ

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2560:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

เริ่มแผนดำเนินการคัดกรอง

 

ดำเนินการคัดกรอง

ร้อยละ 50

ดำเนินการคัดกรอง

ครบถ้วน

ร้อยละ 85

 

 

 

 

 

ปี 2561:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

เริ่มแผนดำเนินการคัดกรอง

 

ดำเนินการคัดกรอง

ร้อยละ 50

ดำเนินการคัดกรอง

ครบถ้วน

ร้อยละ 86

 

 

 

 

 

ปี 2562:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

เริ่มแผนดำเนินการคัดกรอง

 

ดำเนินการคัดกรอง

ร้อยละ 50

ดำเนินการคัดกรอง

ครบถ้วน

ร้อยละ 87

 

 

 

 

 

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

เริ่มแผนดำเนินการคัดกรอง

 

ดำเนินการคัดกรอง

ร้อยละ 50

ดำเนินการคัดกรอง

ครบถ้วน

ร้อยละ 88

 

 

 

 

 

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

เริ่มแผนดำเนินการคัดกรอง

 

ดำเนินการคัดกรอง

ร้อยละ 50

ดำเนินการคัดกรอง

ครบถ้วน

ร้อยละ 89

วิธีการประเมินผล

1) เขต สสจ. ผลักดันและสร้างความเข้าใจขั้นตอน/กระบวนการ/ความเชื่อมโยงของ

    นโยบาย

2) ทีมสำรวจความก้าวหน้า/ยุทธวิธีในการดำเนินงาน

3) สรุปผลการประเมิน ADL ของผู้สูงอายุในพื้นที่(ตำบล/อำเภอ/จังหวัด/เขต) โดยใช้แบบ

    การประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน ดังรายละเอียดปรากฏในคู่มือการ

    คัดกรอง/ประเมินผู้สูงอายุ ฉบับบูรณาการกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557

4) คำนวณอัตราส่วนของผู้สูงอายุที่ต้องการความช่วยเหลือในการทำกิจวัตรประจำวัน

    รายตำบล อำเภอ จังหวัด เขต และส่งข้อมูลต่อยังสำนักตรวจราชการกระทรวง

    สาธารณสุข เพื่อจัดทำเป็นภาพรวมทั้งประเทศ

5) ตรวจสอบข้อมูล ผ่านระบบฐานข้อมูลการคัดกรอง/ประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ (AGE APP)  

    พัฒนาโดยกรมการแพทย์

เอกสารสนับสนุน

1. พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546

2. แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545 – 2564) ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ. 2552

3. คู่มือการคัดกรอง/ประเมินผู้สูงอายุ ปี 2557 ฉบับบูรณาการกระทรวงสาธารณสุข

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นายแพทย์ประพันธ์ พงศ์คณิตานนท์               ผู้อำนวยการสถาบันเวชศาสตร์

                                                                 สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-0248487                  โทรศัพท์มือถือ : 086-7760768          

    โทรสาร : 02-5918279                               Email : drprapun@yahoo.com

2. นางสาวปิยะนุช ชัยสวัสดิ์                              นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906255                   โทรศัพท์มือถือ : 087-0904560 

    โทรสาร : 02-5918279                                Email : piyanut.igm@hotmail.com

สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ

3.  นายพินิจ เอิบอิ่ม                                        นักวิเคราะห์นโยบายและแผน

     โทร. 02-5918277                                     โทรศัพท์มือถือ : 084-6811567  

     โทรสาร : 02-5918279                               Email: piniterbim@gmail.com

สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1.สำนักตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข

2.สำนักนิเทศการแพทย์ กรมการแพทย์

3.สำนักยุทธศาสตร์การแพทย์ กรมการแพทย์

4.สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆาราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นายปวิช อภิปาลกุล                                นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906352               โทรศัพท์มือถือ : 085-9594499

   โทรสาร : 02-5918279                            E-mail : moeva_dms@yahoo.com

สำนักยุทธศาสตร์การแพทย์ กรมการแพทย์ 

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>