เขตสุขภาพมีการดำเนินงาน Digital Transformation เพื่อก้าวสู่การเป็น Smart Hospital (โรงพยาบาลสังกัดกรมวิชาการ)

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดเขตสุขภาพมีการดำเนินงาน Digital Transformation เพื่อก้าวสู่การเป็น Smart Hospital (โรงพยาบาลสังกัดกรมวิชาการ)
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2562
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่049.3
Sort Order0
คำนิยาม

Digital Transformation หมายถึง การปรับเปลี่ยนกระบวนการปฏิบัติงาน โดยนำเทคโนโลยีด้านดิจิทัล มาประยุกต์ใช้ร่วมกับระบบสารสนเทศเดิม แบบไร้รอยต่อ ลดเวลา  ลดความซ้ำซ้อน สารสนเทศสุขภาพมีคุณภาพ รวดเร็วและปลอดภัย ในปี 62 มุ่งเน้นให้มีการพัฒนาแนวทางการดำเนินงานทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โดยกำหนดเป็นระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน Digital Transformation เพื่อก้าวสู่การเป็น Smart Hospital

Smart Hospital  หมายถึง โรงพยาบาลภาครัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ที่มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อสนับสนุนการจัดบริการภายในโรงพยาบาล ลดขั้นตอน และอำนวยความสะดวกทั้งต่อผู้ให้และผู้รับบริการ

ในปีงบประมาณ 2562 กำหนดระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน Digital Transformation เพื่อก้าวสู่การเป็น Smart Hospital ไว้ 3 ระดับ ดังนี้

ระดับ 1 Smart Tools : หมายถึง โรงพยาบาลมีการใช้เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพมาช่วยในการบริหารจัดการ และพัฒนาคุณภาพบริการในองค์กร ได้แก่

  1. มีระบบให้บริการนัดหมาย หรือ จองคิวแบบออนไลน์ มีระบบแจ้งเตือน

ผู้รับบริการแบบ “ออนไลน์” (Queue Online) เพื่อลดระยะเวลาในการรอคอยของผู้รับบริการ และลดความแออัดของหน่วยบริการ โดยจัดบริการ ณ จุดคัดกรอง หรือคลินิคอื่นๆ ตามที่โรงพยาบาลกำหนด แสดงผลบนอุปกรณ์ขนาดเล็กของผู้รับบริการได้ และต้องใช้งานได้ในระบบ Android และ iOS

  1. มีระบบการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลตามมาตรฐาน เช่น HIS Gateway 

โรงพยาบาลต้องแสดงการใช้ Smart Tools ทั้ง 2 ระบบจึงจะผ่านเกณฑ์ระดับ 1

ระดับ 2. Smart Service : หมายถึง โรงพยาบาลมีการนำแนวทางการทำงานอื่นๆ มาใช้เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานในองค์กร และมีการจัดทำ Service Process Management (เช่น Lean Process, Paperless, Less Paper, Electronic Medical Record : EMR) โดยนำมาประยุกต์ใช้ในแผนกต่างๆ ภายในโรงพยาบาล เช่น

  • การใช้ใบสั่งยาในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์
  • การจัดเก็บข้อมูลเวชระเบียนผู้ป่วยด้วยรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ แทนการใช้ OPD Card แบบกระดาษ

โรงพยาบาลต้องผ่านเกณฑ์ระดับ 1 และต้องมี Smart Service เรื่อง การใช้ใบสั่งยาในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ จึงจะผ่านเกณฑ์ระดับ 2

ระดับ 3. Smart Outcome: หมายถึง โรงพยาบาลมีการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาปรับปรุง Core Business Process ในองค์กร ให้มีความเชื่อมโยงกันทั้งระบบ Front Office และ Back Office จนเกิดเป็นระบบวางแผนการใช้ทรัพยากร ERP Model (Enterprise Resource Planning System ; ERP) ส่งผลให้การดำเนินการขององค์กร มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความปลอดภัยในการให้บริการ ทั้งนี้ เขตสุขภาพ/กรมวิชาการสามารถเลือก Success Story จาก ERP Model ของโรงพยาบาลได้เอง

โรงพยาบาลต้องผ่านเกณฑ์ระดับ 1, 2 และแสดง Success Story จาก Smart Outcome ได้อย่างน้อย 1 เรื่อง จึงจะผ่านเกณฑ์ระดับ 3

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aแห่ง
นิยามของค่า Aจำนวนโรงพยาบาลสังกัดกรมวิชากรที่มีการดำเนินงาน Digital Transformation เพื่อก้าวสู่การเป็น Smart Hospital ผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด
หน่วยของค่า Bแห่ง
นิยามของค่า Bจำนวนโรงพยาบาลสังกัดกรมวิชาการ
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)x100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมาย
ประชากรกลุ่มเป้าหมายโรงพยาบาลสังกัดกรมวิชาการ
ค่าเป้าหมาย50.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1. รพ. ทำแบบประเมินตนเองจัดส่งให้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สป.สธ. รวบรวม

2. การติดตามและรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบรายงาน Health KPI ของกองยุทธศาสตร์และแผนงาน 

แหล่งข้อมูล

1. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สป.สธ.

2. กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สป.สธ.

3. สำนักงานเขตสุขภาพ

4. กรมวิชาการ ที่มีโรงพยาบาลในสังกัด (กรมการแพทย์, กรมสุขภาพจิต, กรมควบคุมโรค)

5. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 2 3 และ 4 (6, 9 และ 12 เดือน)
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2559

2560

2561

รพ.ภาครัฐที่ผ่านเกณฑ์ Smart Hospital

แห่ง

-

-

-

เกณฑ์การประเมินผล

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

รพ.กลุ่มเป้าหมาย คือ

1.รพ.สังกัด สป. คือ

- รพศ/รพท 116 แห่ง

- รพช 781 แห่ง

2.รพ.สังกัดกรมวิชาการ ทุกแห่ง

รับทราบแนวทางการดำเนินงาน และการประเมินผล ตามเกณฑ์ Smart hospital

ร้อยละ 50

ของรพ.กลุ่มเป้าหมาย

ดำเนินการตามเกณฑ์ Digital Transformation เพื่อก้าวสู่การเป็น Smart Hospital และผ่านเกณฑ์ ระดับ 2 ขึ้นไป

 

ร้อยละ 75

ของ รพ.กลุ่มเป้าหมาย

ดำเนินการตามเกณฑ์ Digital Transformation เพื่อก้าวสู่การเป็น Smart Hospital และผ่านเกณฑ์ ระดับ 2 ขึ้นไป

ร้อยละ 100

ของ รพ.กลุ่มเป้าหมาย

ดำเนินการตามเกณฑ์ Digital Transformation เพื่อก้าวสู่การเป็น Smart Hospital และผ่านเกณฑ์ ระดับ 2 ขึ้นไป

วิธีการประเมินผล

1. ประมวลผลจากแบบประเมินตนเองของ รพ.

2. การตรวจเยี่ยมจากจังหวัด/เขต/กรมวิชาการ เพื่อประเมินผลการดำเนินงานทั้ง 3 ระดับ ได้แก่ Smart Tools, Smart Service, Smart Outcome

เอกสารสนับสนุน

1.   แนวทางและมาตรฐานเชื่อมโยงข้อมูลผ่านตัวกลางสำหรับการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลสำหรับโรงพยาบาล (HIS Gateway)

2.  คู่มือการติดตั้งและใช้งาน H4U

3.  คู่มือ MOPH Connect Smart Queue กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สป.สธ.

4.  คู่มือแอปพลิเคชั่น “Hygge Medical Service” เขตสุขภาพที่ 5

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

Project Manager

1.นางเดือนเพ็ญ โยเฮือง                      นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ                                                           

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 025901495             โทรศัพท์มือถือ : 0635499693

โทรสาร : 025918565                       E-mail : duanpen@moph.mail.go.th

กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สป.สธ.

2.นายแพทย์เลอศักดิ์  ลีนะนิธิกุล            นายแพทย์ชำนาญการ

                                                 รองผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและ

                                                การสื่อสาร สป.สธ.

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 025901217             โทรศัพท์มือถือ : 0818925883

โทรสาร : 025901215                       E-mail : drlersak2012@gmail.com

รพ.วชิระภูเก็ต / ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สป.สธ.

Smart Tools:

นางกนกวรรณ มาป้อง                        นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการพิเศษ                                                        

โทรศัพท์ที่ทำงาน :025902185 ต่อ 414    โทรศัพท์มือถือ : 0871015708

โทรสาร : 025901215                       E-mail : kmapong@gmail.com

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สป.สธ.

Smart Service :

นายสัมฤทธิ์  สุขทวี                           นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 025901214             โทรศัพท์มือถือ : 0818017543

โทรสาร : 025901215                       E-mail : hait@moph.go.th

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สป.สธ.

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

Smart Tools:

1.เดือนเพ็ญ โยเฮือง                          นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 025901495             โทรศัพท์มือถือ : 0635499693

โทรสาร : 025918565                       E-mail : duanpen@moph.mail.go.th

กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สป.สธ.

2.นางกนกวรรณ มาป้อง                     นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการพิเศษ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 025902185 ต่อ 414   โทรศัพท์มือถือ : 0871015708

โทรสาร : 025901215                       E-mail : kmapong@gmail.com

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สป.สธ.

Smart Service:s

นายสัมฤทธิ์  สุขทวี                           นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 025901214             โทรศัพท์มือถือ : 0818017543

โทรสาร : 025901215                       E-mail : hait@moph.go.th

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สป.สธ.

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

นางรุ่งนิภา อมาตยคง                        นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน :025901200             โทรศัพท์มือถือ : 0870276663

โทรสาร : 025901215                       E-mail : ict-moph@health.moph.go.th

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สป.สธ.

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>