ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีทีม Refracture Prevention
ผลการดำเนินงาน >>ชื่อตัวชี้วัด | ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีทีม Refracture Prevention | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
Child KPI | สร้าง KPI ย่อย | ||||||||
ปีงบประมาณ | 2562 | ||||||||
ระดับตัวชี้วัด | เขต | ||||||||
ตัวชี้วัดที่ | 026 | ||||||||
Sort Order | 0 | ||||||||
คำนิยาม | ผู้ป่วย Refracture Prevention คือ ผู้ป่วยทั้งเพศชายและหญิง อายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป ภยันตรายชนิดไม่รุนแรง (Fragility fracture) หมายถึง แรงกระทำจากการล้ม ในระดับที่น้อยกว่าหรือเทียบเท่าความสูงขณะยืนของผู้ป่วย (Equivalent to fall from height) ผู้ป่วยที่มีกระดูกหักซ้ำภายหลังกระดูกสะโพกหัก (Refracture) หมายถึง ผู้ป่วยที่มีภาวะกระดูกหักในตำแหน่งต่อไปนี้ (กระดูกสันหลัง กระดูกสะโพก กระดูกข้อมือ กระดูกต้นแขน กระดูกปลายต้นขา กระดูกหน้าแข้งส่วนต้น กระดูกข้อเท้า) จากภยันตรายชนิดไม่รุนแรงภายหลังการรักษาภาวะกระดูกสะโพกหักภายใต้โครงการ Refracture Prevention โดยนับตั้งแต่วันหลังจากกระดูกสะโพกหัก และเข้ารับการรักษาเป็นผู้ป่วยในโครงการ Refracture Prevention เป็นต้น การผ่าตัดแบบ Early surgery หมายถึง ผู้ป่วย Refracture Prevention ที่ได้รับการผ่าตัดภายใน 72 ชั่วโมง หลังเข้ารับการรักษาภายในโรงพยาบาลแบบผู้ป่วยใน กระดูกสะโพกหัก หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับการให้รหัสการบาดเจ็บ ด้วยรหัส 1. Femoral neck fracture S72.000-.019 2. Intertroch S72.100-101, S72.110-111 3. Subtroch S72.20, 21 กระดูกสันหลัง กระดูกสะโพก กระดูกข้อมือ กระดูกต้นแขน กระดูกปลายต้นขา กระดูกหน้าแข้งส่วนต้น กระดูกข้อเท้าหมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับการให้รหัสการบาดเจ็บ ด้วยรหัส 1. Compression spine S22, S32 2. Distal radius S52 3. Ankle M80 4. Distal femur S72 5. Plateau S82 6. Proximal humerus S42 ผู้ป่วย Refracture Prevention ที่ได้รับการผ่าตัดหมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับการให้รหัสหัตถการ ด้วยรหัส 1. THA 81.51 2. Partial hip replacement 81.52 3. Fixation 79.15, 79.35 4. open reduction femur 79.25 5. Close reduction 79.05 6. Fixation 78.55 เพื่อลดอัตรากระดูกหักซ้ำภายหลังกระดูกสะโพกหัก (refracture) ให้ดำเนินการโดยตั้งทีม Refracture Prevention ประกอบด้วย สหสาขาวิชาชีพที่ร่วมกันดูแลรักษาผู้ป่วยสูงอายุที่มีกระดูกสะโพกหักจากโรคกระดูกพรุน โดยมุ่งเน้นการป้องกันการเกิดกระดูกสะโพกหักซ้ำในผู้ป่วยกลุ่มนี้โดยมีบุคคลช่วยประสานและดำเนินการ (Liaison) องค์ประกอบของทีม Refracture Prevention หัวหน้าโครงการ ศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์ ผู้ประสานงาน Fracture liaison nurse (FLS nurse) ระดับ รพศ./รพท. คือ ตัวแทน หรือ ทีมพยาบาล ประจำหอผู้ป่วยกระดูกและข้อ ระดับ รพช. คือ ตัวแทน หรือทีมพยาบาล ในโรงพยาบาลนั้น ผู้ถูกจัดตั้ง ทีมแพทย์สหสาขาวิชาชีพ จำเป็นต้องมีระดับ รพศ./รพท.- วิสัญญีแพทย์, อายุรแพทย์ต่อมไร้ท่อ ระดับ รพช. - วิสัญญีแพทย์, อายุรแพทย์ แนะนำให้มี ระดับ รพศ./รพท.- แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว, แพทย์เวช ระดับ รพช. - แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู, แพทย์เวชศาสตร์ ทีมสหสาขาวิชาชีพอื่นๆ จำเป็นต้องมีเภสัชกร, หน่วยบริการเยี่ยมบ้าน, หน่วยกายภาพบำบัด แนะนำให้มี ตัวแทนแผนกโภชนาการ หมายเหตุ: แนะนำให้มี หมายความว่า อาจไม่มีก็ได้ ขึ้นกับบริบทของแต่ละโรงพยาบาลในขณะนั้น สหสาขาวิชาชีพ หมายถึง ทีมงานที่ประกอบไปด้วยแพทย์ออร์โธปิดิกส์ อายุรกรรม เวชศาสตร์ฟื้นฟู วิสัญญีแพทย์ แผนกโภชนาการ แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว หรือแผนกอื่นที่เกี่ยวข้องที่ร่วมกันดูแลผู้ป่วยแบบบูรณาการ Liaison หมายถึง บุคลากรผู้มีหน้าที่ประสานงาน (Coordinator) ในการดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวมจากทีมสหสาขาวิชาชีพ เขตสุขภาพที่มีโรงพยาบาลที่มีทีม Refracture Prevention หมายถึง เขตสุขภาพตามการแบ่งส่วนของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งมีอย่างน้อย 1 โรงพยาบาลในเขตสุขภาพนั้น จัดตั้งทีม Refracture Prevention | ||||||||
หน่วยตัวชี้วัด | ร้อยละ | ||||||||
หน่วยของค่า A | เขต | ||||||||
นิยามของค่า A | จำนวนเขตสุขภาพที่มีการจัดตั้งทีม Refracture Prevention | ||||||||
หน่วยของค่า B | เขต | ||||||||
นิยามของค่า B | จำนวนเขตสุขภาพทั้งหมด | ||||||||
หน่วยของค่า C | |||||||||
นิยามของค่า C | |||||||||
หน่วยของค่า D | |||||||||
นิยามของค่า D | |||||||||
หน่วยของค่า E | |||||||||
นิยามของค่า E | |||||||||
หน่วยของค่า F | |||||||||
นิยามของค่า F | |||||||||
สูตรคำนวนตัวชี้วัด | (A/B)x100 | ||||||||
Operator | >= | ||||||||
เกณฑ์เป้าหมาย | ร้อยละ 20 | ||||||||
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย | โรงพยาบาลกลุ่มเป้าหมายใน 13 เขตสุขภาพ | ||||||||
ค่าเป้าหมาย | 20.00 | ||||||||
Max Value | 100.00 | ||||||||
วิธีการจัดเก็บข้อมูล | 1.โรงพยาบาลจัดเก็บข้อมูลตามระบบปกติของโรงพยาบาล และส่งข้อมูลเข้าระบบ HCD กระทรวง 2. จัดเก็บรวบรวมข้อมูล โดยทีมนิเทศและตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขและกรมการแพทย์ | ||||||||
แหล่งข้อมูล | เขตสุขภาพ | ||||||||
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง | - | ||||||||
ตัวชี้วัดระดับเขต | - | ||||||||
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด | - | ||||||||
ตัวชี้วัดสำคัญ | - | ||||||||
ตัวชี้วัด Area Base | - | ||||||||
Tags | |||||||||
ระยะเวลาการประเมินผล | ไตรมาส 1 2 3 และ 4 | ||||||||
ข้อมูล Baseline |
| ||||||||
เกณฑ์การประเมินผล | ปี 2562 :
| ||||||||
วิธีการประเมินผล | วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อประเมินสถานการณ์ เพื่อปรับมาตรการและกลยุทธ์ | ||||||||
เอกสารสนับสนุน | คู่มือการจัดตั้งทีม และดำเนินการโครงการ Refracture Prevention | ||||||||
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด | นพ.สมศักดิ์ ลีเชวงวงศ์ หัวหน้าศูนย์การแพทย์เฉพาะทางด้านออร์โธปิดิกส์ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-3539-844 โทรศัพท์มือถือ : 0891128899 โทรสาร : 02-3539-845 E-mail : somsakortho@gmail.com โรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย์ | ||||||||
หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง) | 1.นพ.ภัทรวินฑ์ อัตตะสาระ รองผู้อำนวยการสำนักนิเทศระบบการแพทย์ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906357 โทรศัพท์มือถือ : 081-9357334 โทรสาร 0-2965-9851 E-mail : pattarawin@gmail.com สำนักนิเทศระบบการแพทย์ กรมการแพทย์ 2.ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (ระบบ HDC) | ||||||||
ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน | 1.นพ.สมศักดิ์ ลีเชวงวงศ์ หัวหน้าศูนย์การแพทย์เฉพาะทางด้านออร์โธปิดิกส์ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-3539-844 โทรศัพท์มือถือ : 0891128899 โทรสาร : 02-3539-845 E-mail : somsakortho@gmail.com โรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย์ 2.นพ.ภัทรวินฑ์ อัตตะสาระ รองผู้อำนวยการสำนักนิเทศระบบการแพทย์ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906357 โทรศัพท์มือถือ : 081-9357334 โทรสาร 0-2965-9851 E-mail : pattarawin@gmail.com สำนักนิเทศระบบการแพทย์ กรมการแพทย์ 3.นายปวิช อภิปาลกุล นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-6347 โทรศัพท์มือถือ : 085-9594499 โทรสาร 0-2591-8279 E-mail : eva634752@gmail.com สำนักยุทธศาสตร์การแพทย์ กรมการแพทย์ 4.กลุ่มงานนิเทศระบบการแพทย์ สำนักนิเทศระบบการแพทย์ กรมการแพทย์ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6358-59 โทรสาร : 0 2965 9851 E-mail : supervision.dms@gmail.com | ||||||||
รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base | 0 | ||||||||
Areabase Kpi Regioncode | 0 | ||||||||
หมายเหตุ | |||||||||
Last Update | 2021-03-24 14:22:39 | ||||||||
Download |