ร้อยละการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพลดลง

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพลดลง
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2562
ระดับตัวชี้วัดเขต
ตัวชี้วัดที่019
Sort Order0
คำนิยาม

การส่งต่อผู้ป่วยออกนอกเขตสุขภาพ  หมายถึง  การส่งต่อผู้ป่วย 4 สาขา (สาขาโรคหัวใจ (ประมวลผลรหัสวินิจฉัย I20-I25) , สาขาโรคมะเร็ง (ประมวลผลรหัสวินิจฉัย C ทั้งหมด และ D0 ทั้งหมด) , สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน (ประมวลผลรหัสวินิจฉัย V01-Y98 ) และสาขาทารกแรกเกิด (ประมวลผลรหัสวินิจฉัยที่เด็กอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 28 วันเทียบกับวันเกิดแฟ้ม PERSON)) เพื่อไปรับการรักษาต่อในสถานบริการระดับเดียวกันหรือสถานบริการที่มีศักยภาพสูงกว่าที่ตั้งอยู่นอกเขตสุขภาพของตนเอง (ยกเว้น 1. สถานบริการที่มีบันทึกข้อตกลงในการรับส่งต่อผู้ป่วยทั้งภาครัฐและภาคเอกชนของแต่ละเขตสุขภาพ  2. ความสมัครใจของผู้มีสิทธิในการรักษา) กรณี 1) เพื่อการวินิจฉัย และการรักษา 2) เพื่อการวินิจฉัย 3) เพื่อการรักษาต่อเนื่อง และทำให้ผู้ป่วยได้รับการส่งต่อไปยังสถานบริการปลายทางนั้นๆ (การส่งต่อรวมทั้งฉุกเฉินและไม่ฉุกเฉินและทุกสิทธิการรักษา)

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aคน
นิยามของค่า A จำนวนผู้ป่วย 4 สาขา ที่ส่งต่อออกนอกเขตสุขภาพปี 2561
หน่วยของค่า Bคน
นิยามของค่า Bจำนวนผู้ป่วย 4 สาขา ที่ส่งต่อออกนอกเขตสุขภาพปี 2562
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด((A-B)/A)x100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายลดลงร้อยละ 10
ประชากรกลุ่มเป้าหมายรพ.ระดับทุติยภูมิและตติยภูมิทุกแห่ง ในจังหวัด/เขตสุขภาพ
ค่าเป้าหมาย10.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

จังหวัดจัดเก็บข้อมูล และส่งเข้า HDC กระทรวงสาธารณสุข

แหล่งข้อมูล

HDC กระทรวงสาธารณสุข

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 3 และ 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2559

2560

2561

 

ร้อยละ

เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.29

ลดลงร้อยละ 6.87

ลดลงร้อยละ

7.2

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2562 – 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ขั้นตอน 1 - 3

ขั้นตอน 1 – 5

ขั้นตอน 1 - 5

ลดลงร้อยละ 10

 
วิธีการประเมินผล

ขั้นตอน 1) ศูนย์ประสานการส่งต่อ (ศสต.) ระดับจังหวัด/เขต มีการทำบทบาทหน้าที่ในการประสานงาน รับส่งต่อผู้ป่วยตามแนวทางพัฒนาระบบส่งต่อ

ขั้นตอน 2) มีการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการส่งต่อผู้ป่วย การจัดทำระบบข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วยสาขาที่เป็นปัญหา เพื่อใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์ข้อมูลและแก้ไขปัญหา

ขั้นตอน 3) มีการจัดทำเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญและจัดทำระบบการส่งต่อที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่/สาขาที่มีการส่งต่อผู้ป่วยจำนวนมาก และเป็นปัญหาของจังหวัด/เขต       ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan เพื่อแก้ไขปัญหาการส่งต่อ

ขั้นตอน 4) มีการติดตามผลและวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน การส่งต่อผู้ป่วยระดับจังหวัด/เขตเพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาในเครือข่าย

ขั้นตอน 5) สรุปและรายงานผลการส่งต่อผู้ป่วยระดับจังหวัด/เขต 

เอกสารสนับสนุน

แนวทางการพัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วย

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นายแพทย์ธีรพงศ์  ตุนาค                  ผู้อำนวยการกองบริหารการสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 – 5901761     โทรศัพท์มือถือ : -            

    โทรสาร  : 02 - 5901802                 E-mail : -       

2. นางเกวลิน  ชื่นเจริญสุข                   รองผู้อำนวยการกองบริหารการสาธารณสุข

    โทรศัพท์ : 02 - 5901643               โทรศัพท์มือถือ : 089 - 8296254

    โทรสาร  : 02 - 5901631               E-mail : kavalinc@hotmail.com

3. นางณัฏฐิณา  รังสินธุ์                      นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ    

    โทรศัพท์ : 02 - 5901637               โทรศัพท์มือถือ : 087 - 6828809

    โทรสาร  : 02 - 5901631               E-mail : nuttina24@gmail.com

4. นางสาวธนวรรณ  น้อยเกษม              นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ       

    โทรศัพท์ : 02 - 5901637               โทรศัพท์มือถือ : 065 - 2645159

    โทรสาร  : 02 - 5901631                E-mail : thanawan.2426@gmail.com

5. นางสาวสุธิศา  เงินกลั่น                    นักวิชาการสาธารณสุข       

    โทรศัพท์ : 0 2590 1637                 โทรศัพท์มือถือ : 087 - 5237601

    โทรสาร  : 0 2590 1631                 E-mail : sparadizes@gmail.com

กองบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2. กองบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางเกวลิน  ชื่นเจริญสุข                   รองผู้อำนวยการกองบริหารการสาธารณสุข

    โทรศัพท์ : 02 - 5901643               โทรศัพท์มือถือ : 089 - 8296254

    โทรสาร  : 02 - 5901631                 E-mail : kavalinc@hotmail.com

2. นางณัฏฐิณา  รังสินธุ์                       นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ    

    โทรศัพท์ : 02 - 5901637               โทรศัพท์มือถือ : 087 - 6828809

    โทรสาร  : 02 - 5901631                E-mail : nuttina24@gmail.com

3. นางสาวธนวรรณ  น้อยเกษม              นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ       

    โทรศัพท์ : 02 - 5901637               โทรศัพท์มือถือ : 065 - 2645159

    โทรสาร  : 02 - 5901631                E-mail : thanawan.2426@gmail.com

4. นางสาวสุธิศา  เงินกลั่น                     นักวิชาการสาธารณสุข       

    โทรศัพท์ : 0 2590 1637                  โทรศัพท์มือถือ : 087 - 5237601

    โทรสาร  : 0 2590 1631                 E-mail : sparadizes@gmail.com

กองบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>