ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจสอบมีความปลอดภัยตามเกณฑ์ที่กำหนด( ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารหรืออาหารกลุ่มเป้าหมาย)
ผลการดำเนินงาน >>ชื่อตัวชี้วัด | ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจสอบมีความปลอดภัยตามเกณฑ์ที่กำหนด( ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารหรืออาหารกลุ่มเป้าหมาย) |
---|---|
Child KPI | สร้าง KPI ย่อย |
ปีงบประมาณ | 2562 |
ระดับตัวชี้วัด | ประเทศ |
ตัวชี้วัดที่ | 011.3 |
Sort Order | 0 |
คำนิยาม | 1. ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารหรืออาหารกลุ่มเป้าหมาย หมายถึง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร กาแฟ หรือเครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท ที่ผลการตรวจวิเคราะห์ในปี 2560-2561 พบการปลอมปนสารที่มีฤทธิ์ในการลดน้ำหนักหรือเสริมสร้างสมรรถภาพทางเพศ (Blacklist) 2. ได้รับการจัดการ หมายถึง การตรวจสอบให้เป็นไปตามกฎหมาย เช่น ตรวจติดตาม เก็บตัวอย่าง ยึด อายัด การดำเนินการทางอาญา เช่น เปรียบเทียบปรับ ฟ้องคดี หรือการดำเนินการทางปกครอง เช่น แจ้งงดผลิต ประกาศผลการตรวจพิสูจน์ การยกเลิกเลขสารบบอาหาร หรือ อื่น ๆ เช่น การแจ้งเตือนภัยประชาชน เป็นต้น |
หน่วยตัวชี้วัด | ร้อยละ |
หน่วยของค่า A | ผลิตภัณฑ์ |
นิยามของค่า A | จำนวนผลิตภัณฑ์เสริมอาหารหรืออาหารกลุ่มเป้าหมายที่มีผลวิเคราะห์ ผ่านมาตรฐาน |
หน่วยของค่า B | ผลิตภัณฑ์ |
นิยามของค่า B | จำนวนผลิตภัณฑ์เสริมอาหารหรืออาหารกลุ่มเป้าหมายที่ส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการและได้รับรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ |
หน่วยของค่า C | |
นิยามของค่า C | |
หน่วยของค่า D | |
นิยามของค่า D | |
หน่วยของค่า E | |
นิยามของค่า E | |
หน่วยของค่า F | |
นิยามของค่า F | |
สูตรคำนวนตัวชี้วัด | (A/B)x100 |
Operator | >= |
เกณฑ์เป้าหมาย | ร้อยละ 80 |
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย | ผลิตภัณฑ์อาหารกลุ่มเป้าหมาย (Blacklist) |
ค่าเป้าหมาย | 80.00 |
Max Value | 80.00 |
วิธีการจัดเก็บข้อมูล | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ส่งข้อมูลผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและอาหารกลุ่มเป้าหมาย (Blacklist) ปี 2560-2561 ให้กับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ กรณีเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและอาหารกลุ่มเป้าหมาย (Blacklist) ขอให้ สสจ. ดำเนินการตรวจติดตามเพื่อรวบรวมพยานหลักฐานตามกฎหมาย ดังนี้ 2.1 กรณีเป็นจังหวัดที่มีสถานที่ผลิต/ นำเข้า/จัดจำหน่าย ตั้งอยู่ในพื้นที่ ขอให้ 1) เข้าตรวจสอบสถานที่ผลิตตามหลักเกณฑ์ GMP กฎหมาย หรือตรวจสอบสถานที่นำเข้าฯ หรือสถานที่จัดจำหน่าย (แล้วแต่กรณี) 2) เก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและอาหารกลุ่มเป้าหมาย (Blacklist) - กรณีไม่พบผลิตภัณฑ์ตาม Blacklist แต่พบอาหารอื่นที่พิจารณาแล้วมีแนวโน้มปลอมปนสารที่มีฤทธิ์ในการลดน้ำหนักหรือเสริมสร้างสมรรถภาพทางเพศ ให้เก็บตัวอย่างอาหารนั้น และ - ส่งตัวอย่างเพื่อตรวจวิเคราะห์หาชนิดและปริมาณสารที่มีฤทธิ์ในการลดน้ำหนักหรือเสริมสร้างสมรรถภาพทางเพศ (เอกสารแนบตัวชี้วัดที่ 3-1) 2.2 กรณีเป็นจังหวัดที่มีด่านอาหารและยาตั้งอยู่ในพื้นที่ ขอให้ 1) ดำเนินการตามมาตรการกักกันของสำนักด่านอาหารและยา 2) สุ่มเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์ตาม Blacklist ณ ด่านอาหารและยา และส่งตัวอย่างเพื่อตรวจวิเคราะห์ชนิดและปริมาณสารที่มีฤทธิ์ทางยาในกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับสรรพคุณดังกล่าว (เอกสารแนบตัวชี้วัดที่ 3-1) 2.3 กรณีเป็นจังหวัดที่พบการจำหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารตาม Blacklist ขอให้ดำเนินการ ดังนี้ 1) รวบรวมพยานหลักฐานตามกฎหมาย ณ สถานที่จำหน่าย 2) เก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและอาหารกลุ่มเป้าหมาย (Blacklist) และส่งตัวอย่างเพื่อตรวจวิเคราะห์หาชนิดและปริมาณสารที่มีฤทธิ์ในการลดน้ำหนักหรือเสริมสร้างสมรรถภาพทางเพศ (เอกสารแนบตัวชี้วัดที่ 3-1) หมายเหตุ : เอกสารแนบตัวชี้วัดที่ 3-1 1) ปริมาณตัวอย่างผลิตภัณฑ์กลุ่มเป้าหมายที่เก็บเพื่อส่งตรวจวิเคราะห์ การอวดอ้างสรรพคุณ รายการตรวจวิเคราะห์ ปริมาณ (กรัม/ตัวอย่าง) 1. ลดน้ำหนัก 1. กลุ่มยาหรือสารที่ลดความอ้วน เช่น Sibutramine, Fenfluramine อย่างน้อย 30 กรัม 2. กลุ่มยาหรือสารที่ลดความอยากอาหาร เช่น Fluoxetine, Ephedrine, และ Phentermine (ใน 1 ตัวอย่างสามารถระบุรายการ 3. กลุ่มยาระบาย เช่น Phenophthaline และ Bisacodyl วิเคราะห์ได้ตั้งแต่รายการ ที่ 1-5) 4. กลุ่มยาขับไขมัน เช่น Orlistat 5. สารอื่น เช่น Desoxy-D2PM 2. เสริมสร้างสมรรถภาพ Sildenafil, Tadalafil และ Vardenafil อย่างน้อย 30 กรัม ทางเพศ
2) การส่งตัวอย่างตรวจวิเคราะห์ ณ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์หรือศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ โปรดระบุในหนังสือนำส่งตัวอย่างผลิตภัณฑ์ในช่องหมายเหตุว่า “ภายใต้แผนการเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์สุขภาพของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 |
แหล่งข้อมูล | ส่วนกลาง : สำนักอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ส่วนภูมิภาค : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด |
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง | - |
ตัวชี้วัดระดับเขต | - |
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด | - |
ตัวชี้วัดสำคัญ | - |
ตัวชี้วัด Area Base | - |
Tags | |
ระยะเวลาการประเมินผล | |
ข้อมูล Baseline | |
เกณฑ์การประเมินผล | |
วิธีการประเมินผล | รายงานผลการดำเนินการตามแบบรายงานตัวชี้วัดที่ 3 ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ : kb@fda.moph.go.th หรือเป็นหนังสือราชการมายังสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (กองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น) ดังนี้ ครั้งที่ ระยะเวลาการรายงาน 1 ภายใน 20 ธันวาคม 2561 2 ภายใน 20 มีนาคม 2562 3 ภายใน 20 มิถุนายน 2562 หมายเหตุ : ตัดข้อมูลภายในวันที่กำหนดและจะดึงข้อมูลในวันถัดไป |
เอกสารสนับสนุน | |
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด | ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ นางสาวกนกเนตร รัตนจันท สำนักอาหาร โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-7030 โทรศัพท์มือถือ : 089-8313381 โทรสาร : 02-591-8460 e-mail : knrc@fda.moph.go.th ผู้ประสานงานตัวชี้วัด นางสาวอรสุรางค์ ธีระวัฒน์ สำนักอาหาร โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-7218 โทรศัพท์มือถือ : 094-131-6136 โทรสาร : 02-591-8460 e-mail : planning.food@gmail.com |
หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง) | |
ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน | |
รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base | 0 |
Areabase Kpi Regioncode | 0 |
หมายเหตุ | |
Last Update | 2021-05-21 08:41:53 |
Download |