ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ
ผลการดำเนินงาน >>ชื่อตัวชี้วัด | ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
Child KPI | สร้าง KPI ย่อย | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ปีงบประมาณ | 2562 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ระดับตัวชี้วัด | ประเทศ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดที่ | 042 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Sort Order | 0 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คำนิยาม | 1. เขตสุขภาพ (Regional Health) หมายถึง ระบบการบริหารงานส่วนกลางในภูมิภาค เพื่อให้การบริหารจัดการเกิดบริการสุขภาพแบบบูรณาการภายในเขต โดยมีเป้าหมายลดอัตราป่วย อัตราตายของประชาชน และให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการบริการในทุกระดับอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม โดยมีแนวนโยบายจะมีการกระจายอำนาจในการบริหารจัดการลงไปในระดับพื้นที่ แบ่งออกเป็น 12 เขตสุขภาพ ประกอบด้วยจังหวัดที่อยู่ในความรับผิดชอบ ดังนี้
2. บุคลากรสาธารณสุข หมายถึง บุคลากรสาธารณสุขทั้งหมด 5 ประเภทการจ้าง 2.3 พนักงานกระทรวงสาธารณสุข 2.4 ลูกจ้างประจำ 2.5 ลูกจ้างชั่วคราว (รายเดือน) 3. เขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ หมายถึง เขตสุขภาพที่ได้รับคะแนน ตามประเด็นการดำเนินการด้านบริหารจัดการกำลังคนที่สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขกำหนดครบ 4 ประเด็น โดยได้รับคะแนนรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน (ประเด็นละ 25 คะแนนเต็ม) ทั้งนี้ ประเด็นการดำเนินการ 4 ประเด็นดังกล่าว ประกอบด้วย 3.1 มีข้อมูล คะแนนเต็ม 25 คะแนน 1) ข้อมูล หมายถึง รายละเอียดข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับบุคลากรสาธารณสุข เช่น ชื่อ – สกุล, เพศ, อายุ, เงินเดือน, การเลื่อนตำแหน่ง ฯลฯ 2) รายงานสถิติกำลังคนด้านสุขภาพ หมายถึง รายงานข้อมูลบุคลากรสาธารณสุข เช่น รายงานจำนวนข้อมูลบุคลากรตามประเภทการจ้าง รายงานจำนวนบุคลากรตามตำแหน่ง รายงานจำนวนสูญเสียบุคลากร รายงานจำนวนตำแหน่งว่าง ฯลฯ 3) ฐานข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพ หมายถึง มีข้อมูลบุคลากรสาธารณสุขของกระทรวงสาธารณสุข 1) ตำแหน่งว่าง หมายถึง ตำแหน่งที่ไม่มีผู้ครองตำแหน่ง ประเภทข้าราชการและพนักงานราชการทุกสายงาน ซึ่งมีความจำเป็นและขาดแคลน โดยไม่เกินกรอบอัตรากำลังที่กำหนด 2) แผนบริหารตำแหน่ง หมายถึง มีการกำหนดวิธีการ/กระบวนการ/ขั้นตอน การบริหารจัดการตำแหน่งว่างที่มีอยู่เพื่อให้สามารถดำเนินการสรรหาบุคคลมาดำรงตำแหน่งให้แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด ได้แก่ การจัดสรรเพื่อคัดเลือกบรรจุ การเรียกตัวผู้สอบแข่งขัน การรับย้าย/รับโอน/บรรจุกลับ การแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น การยุบรวมและกำหนดเป็นสายงานที่มีความจำเป็น 3) มีแผนบริหารตำแหน่ง หมายถึง ทุกเขตสุขภาพมีแผนบริหารตำแหน่ง และมีกิจกรรมการดำเนินการตามข้อ 2) 3.3 มีการดำเนินการตามแผน คะแนนเต็ม 25 คะแนน 1) แผน หมายถึง แผนบริหารตำแหน่งว่าง 2) การบริหารจัดการ หมายถึง การดำเนินการสรรหาบุคคลมาดำรงตำแหน่งตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ ก.พ. กำหนด หรือระเบียบ/ข้อบังคับอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้แล้วเสร็จจนกระทั่งมีคำสั่งและบันทึกข้อมูลลงในระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการบุคลากรสาธารณสุข (HROPS) 3) การสรรหาบุคคล หมายถึง การคัดเลือกบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น การบรรจุผู้ได้รับคัดเลือก การบรรจุผู้สอบแข่งขันได้ การบรรจุกลับ การรับย้าย/รับโอน 4) มีการดำเนินการตามแผน หมายถึง มีการดำเนินการตามกระบวนการ/ขั้นตอนที่ได้กำหนดไว้ตามแผนการบริหารตำแหน่ง โดยจะต้องมีอัตราว่างลดลงคงเหลือไม่เกินร้อยละ 5 ในไตรมาส 2 (และคงเหลือไม่เกินร้อยละ 3 ในไตรมาส 4) ซึ่งคำนวณจากจำนวนตำแหน่งว่างของข้าราชการและพนักงานราชการคงเหลือ เทียบกับจำนวนตำแหน่งทั้งหมดของข้าราชการและพนักงานราชการที่มีอยู่ ณ วันรายงานผล 3.4 บุคลากรสาธารณสุขเพียงพอไม่น้อยกว่าร้อยละ 71 คะแนนเต็ม 25 คะแนน 1) กรอบอัตรากำลัง หมายถึง การกำหนดจำนวนกำลังคนที่ควรมีตามภารกิจและหน้าที่ของสถานบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับ โดยใช้กรอบอัตรากำลังที่กำหนดปี 2560 – 2564 ตามมติ อ.ก.พ. ครั้งที่ 3/2560 เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2560 และจำนวนคนที่ควรมีรวมการจ้างทุกประเภท ได้แก่ ข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานกระทรวงสาธารณสุข ลูกจ้างประจำ และลูกจ้างชั่วคราว (รายเดือน) 2) การให้บริการทางการแพทย์ หมายถึง การกระทำต่อร่างกายหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย จิตใจของมนุษย์ และการกระทำใด ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อการรักษาความเจ็บป่วย ไม่ว่าจะเกิดจากโรคหรือเหตุใด ๆ การผดุงครรภ์ การคุมกำเนิด การฟื้นฟูสมรรถภาพของร่างกายและจิตใจ การแก้ไขความผิดปกติของร่างกาย จิตใจ รวมถึงกระบวนการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ไม่ว่าจะด้วยวิธีการทางการแพทย์แผนปัจจุบัน การแพทย์แผนไทยหรือการแพทย์ทางเลือก (มติ อ.ก.พ กระทรวง ครั้งที่ 5/2561 วันที่ 25 กรกฎาคม 2561) ได้แก่ 2.1) สายงานที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการทางการแพทย์ที่มีความขาดแคลนสูง หมายถึง สายงานที่สรรหาบุคคลมาดำรงตำแหน่งได้ยาก มีการผลิตน้อย หรือมีอัตราการแข่งขันทางการตลาดสูง ได้แก่ 1. นักกายภาพบำบัด/จพ.เวชกรรมฟื้นฟู 2. นักกิจกรรมบำบัด/จพ.อาชีวบำบัด 3. นักกายอุปกรณ์/ช่างกายอุปกรณ์ 4. นักรังสีการแพทย์/จพ.รังสีการแพทย์ 5. นักเทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก 6. นักจิตวิทยา/นักจิตวิทยาคลินิก 7. นักเวชศาสตร์การสื่อความหมาย/จพ.วิทยาศาสตร์การแพทย์ 2.2) สายงานที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการทางการแพทย์ที่ยังมีความขาดแคลน ได้แก่ 2. ทันตแพทย์ 3. เภสัชกร 4. พยาบาลวิชาชีพ/ พยาบาลเทคนิค 5. จพ.ทัตนสาธารณสุข 6. เจ้าพนักงานเภสัชกรรม 7. ช่างทันตกรรม 8. นวก.สาธารณสุข/จพ.สาธารณสุข 9. แพทย์แผนไทย 10. นักเทคนิคการแพทย์/นักวิทยาศาสตร์การแพทย์/จพ.วิทย์ 3) บุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ หมายถึง จำนวนบุคลากรสายงานที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการทางการแพทย์ (ยกเว้น 2.1 สายงานที่มีความขาดแคลนสูง) ที่มีอยู่จริงของเขตสุขภาพ เมื่อเทียบกับกรอบอัตรากำลังที่กำหนดในระดับหน่วยงาน นับรวมทุกประเภทการจ้าง (ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราว (รายเดือน) และพนักงานกระทรวงสาธารณสุข) มีสัดส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 71 4. ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ หมายถึง จำนวนเขตสุขภาพมีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ (ตามข้อ 3) เมื่อเทียบกับจำนวนเขตสุขภาพทั้งหมดมีสัดส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยตัวชี้วัด | ร้อยละ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า A | คน | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า A | จำนวนเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ(≥ร้อยละ 70 ของจังหวัดภายในเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคน ที่มีประสิทธิภาพ (ได้คะแนนมากกว่า 70 คะแนน)) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า B | คน | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า B | จำนวนเขตสุขภาพทั้งหมด | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า C | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า C | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า D | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า D | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า E | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า E | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า F | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า F | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
สูตรคำนวนตัวชี้วัด | (A/B)*100 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Operator | >= | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เกณฑ์เป้าหมาย | ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย | 1. บุคลากรสาธารณสุขทั้งหมด 5 ประเภทการจ้าง (ข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานกระทรวงสาธารณสุข ลูกจ้างประจำ และลูกจ้างชั่วคราว (รายเดือน)) 2. เขตสุขภาพ และหน่วยงานในสังกัดเขตสุขภาพ (สสจ. รพศ. รพท. รพช. สสอ. รพ.สต.และ สอ.น.) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ค่าเป้าหมาย | 70.00 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Max Value | 100.00 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
วิธีการจัดเก็บข้อมูล | 1. วิเคราะห์จากระบบฐานข้อมูลระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการบุคลากรสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (HROPS) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
แหล่งข้อมูล | 1. ฐานข้อมูลระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการบุคลากรสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (HROPS) 2. เขตสุขภาพ และหน่วยงานในสังกัดเขตสุขภาพ (สสจ. รพศ. รพท. รพช. สสอ. รพ.สต.และ สอ.น.) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง | ใช่ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับเขต | ใช่ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด | ใช่ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดสำคัญ | ใช่ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัด Area Base | ใช่ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Tags | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ระยะเวลาการประเมินผล | ไตรมาส 4 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ข้อมูล Baseline |
ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ร้อยละของจังหวัดที่มีบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอคิดเป็นละ 73.68 โดยคำนวณจากจังหวัดที่มีบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอตามกรอบอัตราขั้นต่ำไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 จำนวน 59 จังหวัด เทียบกับจังหวัดทั้งหมด 76 จังหวัด
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เกณฑ์การประเมินผล | ปี 2562:
ปี 2563:
ปี 2564:
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
วิธีการประเมินผล | วิเคราะห์ข้อมูลจากฐานข้อมูล HROPS | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เอกสารสนับสนุน | - | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด | นายสรรเสริญ นามพรหม ผู้อำนวยการกองบริหารทรัพยากรบุคคล โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901410 โทรศัพท์มือถือ : - โทรสาร : 02-5901421 E-mail : sansernx@gmail.com กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง) | 1.นายพรชัย ปอสูงเนิน นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901858 โทรศัพท์มือถือ : 062-9599862 โทรสาร : 02-5901858 E-mail : hrmoph@gmail.com 2. นายธนรัตน์ ชูสม นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901858 โทรศัพท์มือถือ : - โทรสาร : 02-5901858 E-mail : hrmoph@gmail.com 3. นางสาวภัทรพร อิ่มจิตร นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901858 โทรศัพท์มือถือ : - โทรสาร : 02-5901858 E-mail : hrmoph@gmail.com กลุ่มงานบริหารผลการปฏิบัติราชการและเทคโนโลยีสารสนเทศด้านบริหารทรัพยากรบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 1. นางสาวณัฐธยาน์กร เดชา นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02–5918553 โทรศัพท์มือถือ : - โทรสาร : 02-5901355 E-mail : pink1327@hotmail.com 2. นายวิฑูรย์ หอมดวง นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02–5918553 โทรศัพท์มือถือ : - โทรสาร : 02-5901355 E-mail : nonglom@hotmail.com 3. นางสาวมินตรา จิรมงคลโรจน์ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02–5918553 โทรศัพท์มือถือ : - โทรสาร : 02-5901355 E-mail :mintra.jiramongkonrod@gmail.com กลุ่มงานอัตรากำลัง กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน | 1. นางฐิตาภรณ์ จันทร์สูตร นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการพิเศษ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901348 โทรศัพท์มือถือ : 091 - 8864662 โทรสาร : 02-5901344 E-mail : hrmd.strategy@gmail.com 2. นางสาวเปรมฤทัย เครือเรือน นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901344 โทรศัพท์มือถือ : 091 – 8864662 โทรสาร : 02-5901344 E-mail : hrmd.strategy@gmail.com 3.นางสาวกนกกาญจน์ ฤทธิ์เลิศ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901344 โทรศัพท์มือถือ : 091 - 8864662 โทรสาร : 02-5901344 E-mail hrmd.strategy@gmail.com กลุ่มงานยุทธศาสตร์และมาตรฐานด้านบริหารทรัพยากรบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base | - | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Areabase Kpi Regioncode | - | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หมายเหตุ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Last Update | 2021-03-24 14:22:39 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Download |