ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
ผลการดำเนินงาน >>ชื่อตัวชี้วัด | ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน | ||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
Child KPI | สร้าง KPI ย่อย | ||||||||||||||||||||||||
ปีงบประมาณ | 2562 | ||||||||||||||||||||||||
ระดับตัวชี้วัด | ประเทศ | ||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดที่ | 039 | ||||||||||||||||||||||||
Sort Order | 0 | ||||||||||||||||||||||||
คำนิยาม | จังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน หมายถึง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมีระบบและกลไกเพื่อจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ใน 6 ประเด็น ดังนี้ 1. มีข้อมูล สถานการณ์ ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 2. มีการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 3. มีกลไกการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 4. มีระบบการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของสถานบริการการสาธารณสุข 5. มีการจัดการคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 6. มีชุมชนที่มีศักยภาพในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม พื้นที่เสี่ยงมลพิษสิ่งแวดล้อม หมายถึง พื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม เช่น พื้นที่เสี่ยงจากมลพิษสารเคมีและสารอันตราย พื้นที่มีมลพิษทางอากาศ พื้นที่คาดว่าจะเกิดผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ พื้นที่เสี่ยงการจัดการสิ่งปฏิกูลและพยาธิใบไม้ในตับ และพื้นที่ที่ประชาชนมีโอกาสได้รับผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ | ||||||||||||||||||||||||
หน่วยตัวชี้วัด | ร้อยละ | ||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า A | จังหวัด | ||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า A | จำนวนสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐานขึ้นไป | ||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า B | จังหวัด | ||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า B | จำนวนสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั้งหมด | ||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า C | |||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า C | |||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า D | |||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า D | |||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า E | |||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า E | |||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า F | |||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า F | |||||||||||||||||||||||||
สูตรคำนวนตัวชี้วัด | (A/B)*100 | ||||||||||||||||||||||||
Operator | >= | ||||||||||||||||||||||||
เกณฑ์เป้าหมาย | ร้อยละ 100 ของจังหวัด ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน | ||||||||||||||||||||||||
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย | สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด | ||||||||||||||||||||||||
ค่าเป้าหมาย | 100.00 | ||||||||||||||||||||||||
Max Value | 100.00 | ||||||||||||||||||||||||
วิธีการจัดเก็บข้อมูล | 1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามเกณฑ์ตัวชี้วัด และจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามแบบฟอร์มที่กำหนด และส่งให้ศูนย์อนามัย (ศอ.) เป็นรายไตรมาส 2. ศูนย์อนามัย (ศอ.) รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลในภาพรวมของเขตและจัดส่งข้อมูลให้กรมอนามัย ตามแบบฟอร์มที่กำหนด และสำเนา ให้สำนักงานป้องกันควบคุมโรค (สคร.) 3. กรมอนามัยและกรมควบคุมโรค รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลระดับประเทศ จัดทำเป็นรายงานสรุปผลการดำเนินงานฯ รายไตรมาส และสำเนาให้กรมควบคุมโรค 4. กรมอนามัย จัดส่งรายงานผลการดำเนินงานฯ กระทรวงสาธารณสุข | ||||||||||||||||||||||||
แหล่งข้อมูล | สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด | ||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง | ใช่ | ||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับเขต | ใช่ | ||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด | ใช่ | ||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดสำคัญ | ใช่ | ||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัด Area Base | ใช่ | ||||||||||||||||||||||||
Tags | |||||||||||||||||||||||||
ระยะเวลาการประเมินผล | ไตรมาส 1, 2, 3 และ 4 | ||||||||||||||||||||||||
ข้อมูล Baseline |
| ||||||||||||||||||||||||
เกณฑ์การประเมินผล | ปี 2562:
ปี 2563:
ปี 2564:
| ||||||||||||||||||||||||
วิธีการประเมินผล | 1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ทำการประเมินตนเอง (ตามแบบฟอร์มที่กำหนด) 2. ศูนย์อนามัย (ศอ.) และสำนักงานป้องกันควบคุมโรค (สคร.) 2.1 ทำการทวนสอบและวิเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 2.2 ประเมินผลการดำเนินงานของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (ตามแบบฟอร์มที่กำหนด) 2.3 สุ่มประเมินเชิงคุณภาพ 2.4 จัดทำสรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดฯ ภาพรวมของเขต 3. ส่วนกลาง (กรมอนามัยและกรมควบคุมโรค) สุ่มประเมินเชิงคุณภาพ และจัดทำสรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดฯ ภาพรวมของประเทศ | ||||||||||||||||||||||||
เอกสารสนับสนุน | 1. ระบบสารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย (NEHIS) และคู่มือการใช้งานระบบฯ 2. แนวทางการเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 3. คำแนะนำการจัดระบบเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพและมลพิษสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์ 4. แนวทางการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมสำหรับโรงพยาบาล 5. คู่มือ/แนวทางการปฏิบัติงานสำหรับฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัดและคณะอนุกรรมการสาธารณสุขอำเภอหรือคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง 6. Animation ให้ความรู้ด้านกฎหมายสาธารณสุขและบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด 6.1 โปรแกรมกำกับติดตามรายงานผลการดำเนินงานของคณะกรรมการตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข 6.2 หลักสูตรอบรมให้ความรู้ด้านการบังคับใช้กฎหมายและการยกร่างข้อบัญญัติท้องถิ่นตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข 7. คู่มือปฏิบัติงานสำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เรื่องการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม 8. คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 9. กฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2545 และประกาศกระทรวงที่เกี่ยวข้อง11. คู่มือแนวทางการพัฒนาสถานบริการการสาธารณสุขให้ได้มาตรฐานการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ 10. คู่มือแนวทางการจัดการมูลฝอยติดเชื้อในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 11. คู่มืออบรมผู้ปฏิบัติงานมูลฝอยติดเชื้อ หลักสูตรป้องกันและระงับการแพร่เชื้อหรืออันตรายที่อาจเกิดจากมูลฝอยติดเชื้อ 12. คู่มือแนวทางการบริหารจัดการสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล 13. คู่มือแนวทางการดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital 14. แนวทางการพัฒนาชุมชสนเข้มแข็งในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชน 15. แนวทางการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนสำหรับประชาชน และเจ้าหน้าที่ | ||||||||||||||||||||||||
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด | ประเด็นมีข้อมูล สถานการณ์ ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 1. นางสาวพาสนา ชมกลิ่น นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904202 โทรศัพท์มือถือ : 084-7141092 โทรสาร : 02-5904356 E-mail : pasana.c@anamai.mail.go.th กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย 2. นายประหยัด เคนโยธา นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904380 โทรศัพท์มือถือ : 097-1141359 โทรสาร : 02-5904388 E-mail : paktiw_y@hotmail.com สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค ประเด็นมีการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 1. นางสาวอำพร บุศรังสี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904359 โทรศัพท์มือถือ : 081-8311430 โทรสาร : 02-5904356 E-mail : bussarangsri@gmail.com กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย 2. นายประหยัด เคนโยธา นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904380 โทรศัพท์มือถือ : 097-1141359 โทรสาร : 02-5904388 E-mail : paktiw_y@hotmail.com ประเด็นมีกลไกการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 1. นายพลากร จินตนาวิวัฒน์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904219 โทรศัพท์มือถือ : 084-8289950 โทรสาร : 02-5918180 E-mail : palakorn.c@anamai.mail.go.th ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย 2. นางสาวชญาณี ศรีวรรณ นักวิชาการสาธารณสุข โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904219 โทรศัพท์มือถือ : 097-1523336 โทรสาร : 02-5918180 E-mail : chayanee.s@anamai.mail.go.th ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย ประเด็นมีระบบการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของสถานบริการการสาธารณสุข 1. นางสาวปาณิสา ศรีดโรมนต์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904128 โทรศัพท์มือถือ : 099-6549915 โทรสาร : 02-5904200 E-mail : panisa.s@anamai.mail.go.th สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย ประเด็นมีการจัดการคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. นายชัยเลิศ กิ่งแก้วเจริญชัย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904177 โทรศัพท์มือถือ : 080-4346888 โทรสาร : 02-5904188 E-mail : chailert.k@anamai.mail.go.th สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย ประเด็นมีชุมชนที่มีศักยภาพในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 1. นางสุธิดา อุทะพันธุ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904253 โทรศัพท์มือถือ : 063-4515644 โทรสาร : 02-5904255 E-mail : sutida.u@anamai.mail.go.th สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย | ||||||||||||||||||||||||
หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง) | 1. นางสาวพาสนา ชมกลิ่น นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904202 โทรศัพท์มือถือ : 084-7141092 โทรสาร : 02-5904356 E-mail : pasana.c@anamai.mail.go.th กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย 2. นายประหยัด เคนโยธา นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904380 โทรศัพท์มือถือ : 097-1141359 โทรสาร : 02-5904388 E-mail : paktiw_y@hotmail.com สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค | ||||||||||||||||||||||||
ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน | นางสาวพาสนา ชมกลิ่น นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904202 โทรศัพท์มือถือ : 084-7141092 โทรสาร : 02-5904356 E-mail : pasana.c@anamai.mail.go.th กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย | ||||||||||||||||||||||||
รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base | - | ||||||||||||||||||||||||
Areabase Kpi Regioncode | - | ||||||||||||||||||||||||
หมายเหตุ | |||||||||||||||||||||||||
Last Update | 2021-03-24 14:22:39 | ||||||||||||||||||||||||
Download |