ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital ระดับดีขึ้นไป

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital ระดับดีขึ้นไป
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2562
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่012.2
Sort Order0
คำนิยาม

โรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์  GREEN & CLEAN Hospital หมายถึง โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (รพศ. รพช. รพท. และรพ.สังกัดกรมวิชาการ) ดำเนินงานตามเกณฑ์ ดังนี้

ระดับพื้นฐาน

ขั้นตอนที่ 1 การสร้างกระบวนการพัฒนา

1. มีการกำหนดนโยบาย  จัดทำแผนการขับเคลื่อน พัฒนาศักยภาพ และสร้างกระบวนการสื่อสารให้เกิดการพัฒนาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม GREEN & CLEAN hospital อย่างมีส่วนร่วมของคนในองค์กร

ขั้นตอนที่ 2 จัดกิจกรรม GREEN

G: GARBAGE

2. มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย กฎกระทรวงว่าด้วยการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2545

3. มีการคัดแยกมูลฝอยทั่วไป คือ มูลฝอยรีไซเคิล มูลฝอยอินทรีย์             มูลฝอยอื่นๆ ไปยังที่พักรวมมูลฝอยอย่างถูกสุขลักษณะ

R: RESTROOM

4 มีการพัฒนาส้วมมาตรฐานสะอาด เพียงพอ และปลอดภัยที่อาคาร    ผู้ป่วยนอก

E: ENERGY

5. มีมาตรการประหยัดพลังงานที่เป็นรูปธรรมเกิดการปฏิบัติตามมาตรการที่กำหนดร่วมกันทั้งองค์กร

E: ENVIRONMENT

6. มีการจัดสิ่งแวดล้อมทั่วไปทั้งภายในและภายนอกอาคาร  โดยเพิ่มพื้นที่สีเขียวและพื้นที่พักผ่อนที่สร้างความรู้สึกผ่อนคลายสอดคล้องกับชีวิตและวัฒนธรรมท้องถิ่นสำหรับผู้ป่วยรวมทั้งผู้มารับริการ

7. มีการส่งเสริมกิจกรรมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดีแบบองค์รวม ได้แก่ กิจกรรมทางกาย (Physical activity)   กิจกรรมให้คำปรึกษา       ด้านสุขภาพขณะรอรับบริการของผู้ป่วยและญาติ

N: NUTRITION

8. สถานที่ประกอบอาหารผู้ป่วยในโรงพยาบาลได้มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารของกรมอนามัยในระดับดีมาก

9. ร้อยละ 100 ของร้านอาหารในโรงพยาบาลได้มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารของกรมอนามัย

10. จัดให้มีบริการน้ำดื่มสะอาดที่อาคารผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน

ระดับดี

 

11. มีการจัดการมูลฝอยครบทุกประเภทถูกสุขลักษณะ

12. มีการพัฒนาส้วมมาตรฐานสะอาด เพียงพอ และปลอดภัย (HAS)          ที่อาคารผู้ป่วยใน (IPD)

 

ระดับดีมาก

13. มีการส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม GREEN โดยการนำไปใช้ประโยชน์และเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเครือข่ายโรงพยาบาลและชุมชน

 

14. สร้างเครือข่ายการพัฒนา GREEN ลงสู่ชุมชนเพื่อให้เกิด GREEN Community

 

ระดับดีมาก Plus

15. โรงพยาบาลมีการดำเนินงานนโยบายโรงพยาบาลอาหารปลอดภัยร่วมกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่

 

16. โรงพยาบาลผ่านมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ระดับเริ่มต้นพัฒนาขึ้นไป

 

 
หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aแห่ง
นิยามของค่า A จำนวนโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่ดำเนินกิจกรรม GREEN & CLEAN ผ่านเกณฑ์ระดับดี
หน่วยของค่า Bแห่ง
นิยามของค่า B จำนวนโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่ดำเนินกิจกรรม GREEN & CLEAN ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก
หน่วยของค่า Cแห่ง
นิยามของค่า Cจำนวนโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่ดำเนินกิจกรรม GREEN & CLEAN ผ่านเกณฑ์ระดับดีมากPlus
หน่วยของค่า Dแห่ง
นิยามของค่า Dจำนวนโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทั้งหมด
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด((A+B+C)/D) X 100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ ระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 80
ประชากรกลุ่มเป้าหมายโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (รพศ. รพท. รพช. และรพ.สังกัดกรมวิชาการ)
ค่าเป้าหมาย80.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1. โรงพยาบาลทุกแห่งประเมินตนเองและบันทึกข้อมูลในแบบรายงานผลการดำเนินงาน ส่งให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

2. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รวบรวมข้อมูลการประเมินโรงพยาบาลในพื้นที่ วิเคราะห์   แล้วส่งรายงานให้ศูนย์อนามัย (พร้อมแนบไฟล์แบบรายงานที่กรมอนามัยกำหนด) และรายงานผ่านระบบ Health KPI ไตรมาสละ 1 ครั้ง

3. ศูนย์อนามัยรวบรวมข้อมูลจากจังหวัดในพื้นที่ วิเคราะห์ภาพรวมของเขต และรายงานผลผ่านระบบ DOH  Dashboard กรมอนามัย (http://dashboard.anamai.moph.go.th) 

เดือนละ 1 ครั้ง ทุกวันที่ 25 ของเดือน

แหล่งข้อมูล

โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (รพศ./รพท./รพช. และรพ.สังกัดกรมวิชาการ)

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 1 2 3 และ 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2559

2560

2561

ไม่ได้รับการประเมิน

ร้อยละ

-

0.63

0.00

ไม่ผ่านเกณฑ์

ร้อยละ

-

7.30

0.00

ระดับพื้นฐาน

ร้อยละ

-

51.62

20.25

ระดับดี

ร้อยละ

-

29.93

40.50

ระดับดีมาก

ร้อยละ

-

10.53

39.25

ระดับพื้นฐานขึ้นไป

ร้อยละ

-

92.08

100.00

ข้อมูล ณ วันที่ 21 กันยายน 2561

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน GREEN&CLEAN Hospital เริ่มใช้ในปี 2560 เป็นปีแรก

เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2562:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

ทุกจังหวัดมีแผนในการขับเคลื่อน และประเมิน   (Re-accreditation) โรงพยาบาล GREEN & CLEAN Hospital

  1. โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ

ระดับพื้นฐานขึ้นไป

ร้อยละ 100

  1. โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ

ระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 80

โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ

ระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 85

  1. โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ ระดับดีมากขึ้นไป ร้อยละ 40
  2. โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ ระดับดีมาก Plus อย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

ทุกจังหวัดมีแผนในการขับเคลื่อน และประเมิน

(Re-accreditation) โรงพยาบาล GREEN & CLEAN Hospital

โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ

ระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 90

โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ

ระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 100

1. โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ระดับดีมากขึ้นไป ร้อยละ 60

  1. Plus ร้อยละ 10

 

 

 

 

 

 

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

ทุกจังหวัดมีแผนในการขับเคลื่อน และประเมิน

(Re-accreditation) โรงพยาบาล GREEN & CLEAN Hospital

โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ

ระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 100

โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ

ระดับดีมากขึ้นไปร้อยละ 70

  1. โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯระดับดีมากขึ้นไป ร้อยละ 80
  2. โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯระดับดีมาก Plus ร้อยละ 20
วิธีการประเมินผล

1.โรงพยาบาลประเมินตนเองเพื่อวางแผนพัฒนาโรงพยาบาล

2.ทีมประเมินระดับจังหวัดทำการประเมินเพื่อให้คำแนะนำและรับรองโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital

3.ผลงานเปรียบเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส 

เอกสารสนับสนุน

1. คู่มือแนวทางการดำเนินงาน GREEN&CLEAN Hospital

2. คู่มือแนวทางการจัดการมูลฝอย ส้วมและสิ่งปฏิกูลในโรงพยาบาล

3. คู่มือสถานบริการสาธารณสุขต้นแบบลดโลกร้อน

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ:

1. นางปรียานุช  บูรณะภักดี                 นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904261       โทรศัพท์มือถือ : -

    โทรสาร : 02-5904255                  E-mail : preeyanuch.b@anamai.mail.go.th

2. นายประโชติ  กราบกราน                 นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904128       โทรศัพท์มือถือ : -

    โทรสาร : 02-5904128                  E-mail : prachot.k@anamai.mail.go.th

ผู้ประสานงานตัวชี้วัด:

1. นางสาวมลฤดี ตรีวัย                      นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ                                                                   

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904253        โทรศัพท์มือถือ : -

    โทรสาร : 02-5904255                  E-mail : monrudee.t@anamai.mail.go.th

2. นางสาวรุจิรา  ไชยด้วง                    นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904317       โทรศัพท์มือถือ : -

    โทรสาร : 02-5904316                  E-mail : rujira.c@anamai.mail.go.th

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางณีรนุช อาภาจรัส                      หัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์     

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904316       โทรศัพท์มือถือ : -

    โทรสาร : 02-5904316                  E-mail : a.neeranuch@gmail.com

2. นางสาวรุจิรา  ไชยด้วง                    นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904317       โทรศัพท์มือถือ : -

    โทรสาร : 02-5904316                  E-mail : rujira.c@anamai.mail.go.th

3.นายเชิดศักดิ์  โกศัลวัฒน์                  นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904253       โทรศัพท์มือถือ : -

    โทรสาร : 02-5904255                  E-mail : chirdsak.k@anamai.mail.go.th

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>