ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีระบบจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพอย่างบูรณาการ (AMR)

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของโรงพยาบาลที่มีระบบจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพอย่างบูรณาการ (AMR)
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2562
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่018
Sort Order0
คำนิยาม

AMR เป็นการประเมินระบบจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพอย่างบูรณาการ (Integrated AMR Management System) ของโรงพยาบาล โดยการใช้แบบประเมินตนเอง (self assessment)
และรายงานผลการดำเนินงานของทั้ง 5 กิจกรรมสำคัญ ผ่านระบบรายงานกองบริหารการสาธารณสุข   ปีละ 2 ครั้ง ดังนี้

กิจกรรม AMR  (download แบบประเมินตนเอง ได้ทาง https://goo.gl/qtJLuv)

1

กลไกการจัดการ AMR อย่างบูรณาการ (Governance mechanism on AMR)

  1. คณะกรรมการที่มีบทบาทด้านการจัดการ AMR (2) มีการประชุมอย่างสม่ำเสมอ  (3) เป้าหมายการจัดการ AMR ที่ชัดเจน (4) แผนการขับเคลื่อนมาตรการ AMR (5) การกำกับติดตามข้อมูล วิเคราะห์ และสรุปผลความก้าวหน้าในการดำเนินงาน (6) โรงพยาบาลให้การสนับสนุนด้านงบประมาณ อุปกรณ์เครื่องมือ และบุคลากร เพื่อการแก้ไขปัญหา (7) มีการจัดการ AMR อย่างบูรณาการในระดับเขต เพื่อให้ระบบมีความเข้มแข็งและยั่งยืน

2

การเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการ

  1. การตรวจ identify เชื้อแบคทีเรียตามมาตรฐาน (2) การเลือกชนิดของยาในการทดสอบความไวของเชื้อตามมาตรฐาน (3) ระบบ Lab Alert  (4) ระบบการเฝ้าระวังพิเศษในเชื้อดื้อยาสำคัญสอดคล้องกับการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาระดับประเทศ (5) การจัดทำ Antibiogram ตามมาตรฐานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (6) ระบบบันทึกผลห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยาแบบอิเล็กทรอนิกส์ (7) การรายงานการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาทางห้องปฏิบัติการ (8) นำเสนอสรุปรายงานการพบเชื้อดื้อยา พร้อมทั้งวิเคราะห์แนวโน้มปัญหา (9) มีการพัฒนาระบบเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการอย่างต่อเนื่อง เช่น CQI, R2R (10) รพ.ระดับ A,S มีการรายงานเชื่อมโยงกับระดับประเทศ (NARST) (11) การประสานความร่วมมือในการขับเคลื่อนร่วมกับเขตสุขภาพ ศูนย์วิทย์ฯ สคร.

3

การควบคุมกำกับดูแลการใช้ยาในโรงพยาบาล

  1. การวางระบบการคัดเลือก กระจาย และควบคุมกำกับดูแลการใช้ยาในโรงพยาบาล และในเครือข่าย (2) การขับเคลื่อนและกำกับติดตามมาตรการลดการใช้ยาในโรค/ภาวะ ได้แก่ RI, AD, FTW, APL (3) การกำหนดแนวทางการรักษา/ข้อแนะนำในการเลือกใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อที่พบบ่อย และกำกับให้มีการปฏิบัติตามแนวทาง (4) การติดตามและประเมินการใช้ยาปฏิชีวนะที่มีฤทธิ์กว้างหรือสงวนสำหรับเชื้อดื้อยา (5) มาตรการพร้อมแนวปฏิบัติในการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างเหมาะสม (6) การสอนและฝึกอบรมทักษะ (7) ระบบคอมพิวเตอร์ที่สนับสนุนการตัดสินใจเลือกใช้ยาอย่างเหมาะสม (8) การติดตามปริมาณการใช้ยา ทั้งภาพรวมและเฉพาะกลุ่มยา เช่นCarbapenems, cephalosporins, fluoroquinolones, Betalactam/Betalactamase Inhibiotor (BLBI), Colistin (9) มีการติดตามมูลค่าการใช้ยา (10) การมีสรุปรายงาน พร้อมทั้งวิเคราะห์แนวโน้มการใช้ยา

4

การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล

  1. จำนวนพยาบาล ICN ที่เพียงพอ (2) การประชุมคณะกรรมการ ICC อย่างสม่ำเสมอ (3) โรงพยาบาลมีโครงสร้างพื้นฐานเอื้อต่อการจัดการ AMR  (4) IPC guideline (5) ระบบการรับ-ส่งต่อผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยา (6) การจัดการเมื่อเกิดการระบาด (Outbreak) (7) การร่วมคิดโดยผู้ปฏิบัติที่ทำงานหน้างาน และมีการประเมินและปรับปรุงแนวปฏิบัติ (8) การสอนและฝึกอบรมทักษะ (9) มีการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล (HAI Surveillance) (10) การติดตามสถานการณ์การพบเชื้อดื้อยา ทั้ง colonization และ infection (11) มีการกำกับติดตาม วิเคราะห์ และสรุปผลความก้าวหน้าในการดำเนินงาน IPC

5

การวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา และระบบจัดการ AMR  ของโรงพยาบาล และนำไปสู่มาตรการของโรงพยาบาลในการแก้ปัญหา AMR อย่างบูรณาการ

โรงพยาบาลมีการวิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ ด้าน AMR และความเชื่อมโยงของสภาพปัญหา และนำไปสู่มาตรการที่เหมาะสมในการแก้ปัญหา AMR ในโรงพยาบาล

 

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aแห่ง
นิยามของค่า Aจำนวนโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไปที่มีการจัดการ AMR ระดับ intermediate
หน่วยของค่า Bแห่ง
นิยามของค่า Bจำนวนโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไปทั้งหมด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)x100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 20 ของ รพศ./รพท. มีระบบการจัดการ AMR อย่างบูรณาการ (intermediate)
ประชากรกลุ่มเป้าหมายโรงพยาบาลศูนย์ และโรงพยาบาลทั่วไป
ค่าเป้าหมาย20.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

รายงาน

แหล่งข้อมูล

ข้อมูลจากโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงใช่
ตัวชี้วัดระดับเขตใช่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดใช่
ตัวชี้วัดสำคัญใช่
ตัวชี้วัด Area Baseใช่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 4ไตรมาส 1 2 3 และ 4 (ทุก 3 เดือน (ประมวลผลยอดสะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ))
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2559

2560

2561

AMR

ร้อยละ

-

-

88.98

(ผ่านเกณฑ์เป้าหมายขั้น basic ร้อยละ 70)

 

 

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2562:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

 

AMR ขั้น Intermediate ≥ 10 %

 

AMR ขั้น Intermediate ≥ 20 %

 

 

 

 

 

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

 

 

 

 

 

 

 

 

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

 

 

 

 

วิธีการประเมินผล

การรายงาน และการวิเคราะห์เปรียบเทียบผล

เอกสารสนับสนุน

รายการตัวชี้วัดเพื่อประเมินระดับการพัฒนาสู่การเป็นหน่วยบริการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. ภญ.ไพรำ บุญญะฤทธิ์                             เภสัชกรชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901628                 โทรศัพท์มือถือ : 092-3953289

    โทรสาร : 02-5901634                           E-mail : praecu@gmail.com

    สำนักบริหารการสาธารณสุข (ตัวชี้วัด RDU และ AMR)

2. ดร.วันทนา ปวีณกิตติพร                           นักวิทยาศาสตร์การแพทย์เชี่ยวชาญ

     โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-9510000 ต่อ 99302    โทรศัพท์มือถือ : 087-7059541

     โทรสาร : 02-5910343                  E-mail :wantana.p@dmsc.mail.go.th

     กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (ตัวชี้วัด AMR)

3.  นางวราภรณ์ เทียนทอง

     โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5903652                โทรศัพท์มือถือ : 081-3465980

     โทรสาร : 02-5903443                 E-mail : varaporn.thientong2@gmail.com

สถาบันบำราศนราดูร (ตัวชี้วัด AMR)

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

กองบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (AMR)

กองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (RDU)

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. ภญ.สรียา เวชวิฐาน                                        เภสัชกรชำนาญการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5907392                        โทรศัพท์มือถือ :

โทรสาร : 02-5918486                                      E-mail : swech@fda.moph.go.th

กองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภคในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

2.ภญ.ไพรำ บุญญะฤทธิ์                                   เภสัชกรชำนาญการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901628                     โทรศัพท์มือถือ : 092-3953289

โทรสาร : 02-5901634                                    E-mail : praecu@gmail.com

กองบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base-
Areabase Kpi Regioncode-
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>