ระดับความสำเร็จในการพัฒนาเมืองสมุนไพร
ผลการดำเนินงาน >>ชื่อตัวชี้วัด | ระดับความสำเร็จในการพัฒนาเมืองสมุนไพร | ||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
Child KPI | สร้าง KPI ย่อย | ||||||||||||||
ปีงบประมาณ | 2562 | ||||||||||||||
ระดับตัวชี้วัด | จังหวัด | ||||||||||||||
ตัวชี้วัดที่ | 040 | ||||||||||||||
Sort Order | 0 | ||||||||||||||
คำนิยาม | ระดับความสำเร็จ หมายถึง ความสำเร็จของเกณฑ์วัดการพัฒนาเมืองสมุนไพรที่นำเกณฑ์ประเมินการพัฒนาเมืองสมุนไพร ซึ่งกำหนดโดยกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เพื่อใช้ประเมินระดับความสำเร็จ เมืองสมุนไพร หมายถึง ภาพจําลองของโครงการที่เป็นรูปธรรมภายใต้แผนแม่บทแห่งชาติ ว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2560 – 2564 โดยมุ่งเน้นให้พื้นที่เกิดการพัฒนาในระดับภูมิภาคโดยมุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาสมุนไพรอย่างครบวงจรตั้งแต่ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง ทั้งการปลูกสมุนไพร การแปรรูป และการทำเป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสร้างการเติบโตของชุมชนอย่างยั่งยืน ทั้งนี้อาศัยกลไกของประชารัฐและความร่วมมือจากทุกภาคส่วนเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนงานพัฒนาเมืองสมุนไพร (Herbal City) โดยมีแนวทางการดําเนินงานภายใต้ 4 มาตรการ ดังนี้ มาตรการที่ 1 สร้างความเข้มแข็งของการบริหารและนโยบายของรัฐเพื่อการขับเคลื่อน พื้นที่ฐานรากอย่างยั่งยืน มาตรการที่ 2 พัฒนาวัตถุดิบสมุนไพรยกระดับมูลค่าผลผลิตให้กับเกษตรกร มาตรการที่ 3 ขยายช่องทางการใช้ประโยชน์เพิ่มมูลค่าและการตลาด มาตรการที่ 4 ส่งเสริมการใช้สมุนไพรในระบบบริการ ปัจจุบันมีการดำเนินการโครงการพัฒนาเมืองสมุนไพรทั้งสิ้น 13 จังหวัด ซึ่งมีการดำเนินงาน 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 ดำเนินการนำร่อง ตั้งแต่ปี พ.ศ.2559 - 2560 ใน 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงราย (เขตสุขภาพที่ 1) จังหวัดปราจีนบุรี (เขตสุขภาพที่ 6) จังหวัดสกลนคร (เขตสุขภาพที่ 8) จังหวัดสุราษฎร์ธานี (เขตสุขภาพที่ 11) และระยะที่ 2 ดำเนินการส่วนขยาย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2561 ใน 9 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดพิษณุโลก (เขตสุขภาพที่ 2) จังหวัดอุทัยธานี (เขตสุขภาพที่ 3) จังหวัดสระบุรี (เขตสุขภาพที่ 4) จังหวัดนครปฐม (เขตสุขภาพที่ 5) จังหวัดจันทบุรี (เขตสุขภาพที่ 6) จังหวัดมหาสารคาม (เขตสุขภาพที่ 7) จังหวัดสุรินทร์ (เขตสุขภาพที่ 9) จังหวัดอํานาจเจริญ (เขตสุขภาพที่ 10) และจังหวัดสงขลา (เขตสุขภาพที่ 12) การประเมินระดับความสำเร็จในการพัฒนาเมืองสมุนไพรจะวัดจากเกณฑ์ของการพัฒนาเมืองสมุนไพร โดยแบ่งเป็นต้นทาง กลางทาง ปลายทาง จำนวน 10 ข้อ ดังนี้ ต้นทาง
กลางทาง
ปลายทาง
การวัดผลสำเร็จ:ดำเนินการประเมินตามแบบประเมินเกณฑ์พัฒนาเมืองสมุนไพรตามที่กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกกำหนด โดยจังหวัดต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 (8ข้อใน10ข้อ) ในปี 2562
| ||||||||||||||
หน่วยตัวชี้วัด | จำนวน | ||||||||||||||
หน่วยของค่า A | |||||||||||||||
นิยามของค่า A | จำนวนตัวชี้วัดของเมืองสมุนไพรที่ผ่านเกณฑ์ประเมิน | ||||||||||||||
หน่วยของค่า B | |||||||||||||||
นิยามของค่า B | จำนวนตัวชี้วัดทั้งหมด | ||||||||||||||
หน่วยของค่า C | |||||||||||||||
นิยามของค่า C | |||||||||||||||
หน่วยของค่า D | |||||||||||||||
นิยามของค่า D | |||||||||||||||
หน่วยของค่า E | |||||||||||||||
นิยามของค่า E | |||||||||||||||
หน่วยของค่า F | |||||||||||||||
นิยามของค่า F | |||||||||||||||
สูตรคำนวนตัวชี้วัด | (A/B)X100 | ||||||||||||||
Operator | >= | ||||||||||||||
เกณฑ์เป้าหมาย | จังหวัดต้องผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 | ||||||||||||||
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย | เขตพื้นที่ดำเนินการโครงการเมืองสมุนไพรจำนวน 13 จังหวัด ใน 12 เขตสุขภาพ ได้แก่ 1. จังหวัดเชียงราย (เขตสุขภาพที่ 1) 2. จังหวัดพิษณุโลก (เขตสุขภาพที่ 2) 3. จังหวัดอุทัยธานี (เขตสุขภาพที่ 3) 4. จังหวัดสระบุรี (เขตสุขภาพที่ 4) 5. จังหวัดนครปฐม (เขตสุขภาพที่ 5) 6. จังหวัดปราจีนบุรี (เขตสุขภาพที่ 6) 7. จังหวัดจันทบุรี (เขตสุขภาพที่ 6) 8. จังหวัดมหาสารคาม (เขตสุขภาพที่ 7) 9. จังหวัดสกลนคร (เขตสุขภาพที่ 8) 10. จังหวัดสุรินทร์ (เขตสุขภาพที่ 9) 11. จังหวัดอำนาจเจริญ (เขตสุขภาพที่ 10) 12. จังหวัดสุราษฎร์ธานี (เขตสุขภาพที่ 11) 13. จังหวัดสงขลา (เขตสุขภาพที่ 12) | ||||||||||||||
ค่าเป้าหมาย | 80.00 | ||||||||||||||
Max Value | 100.00 | ||||||||||||||
วิธีการจัดเก็บข้อมูล | 1. แบบประเมินการพัฒนาเมืองสมุนไพร 2. การตรวจราชการและนิเทศงาน | ||||||||||||||
แหล่งข้อมูล | 1. ข้อมูลจากแบบประเมินการพัฒนาเมืองสมุนไพร 2. ข้อมูลจากการตรวจราชการและนิเทศงาน 3. ข้อมูลจาก hdcservice.moph.go.th 4. ข้อมูลมูลค่าการตลาดของผลิตภัณฑ์สมุนไพรรวมในจังหวัดมากกว่าค่าเฉลี่ย | ||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง | - | ||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับเขต | - | ||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด | - | ||||||||||||||
ตัวชี้วัดสำคัญ | - | ||||||||||||||
ตัวชี้วัด Area Base | - | ||||||||||||||
Tags | |||||||||||||||
ระยะเวลาการประเมินผล | ไตรมาส 4 | ||||||||||||||
ข้อมูล Baseline | |||||||||||||||
เกณฑ์การประเมินผล |
Small success :
| ||||||||||||||
วิธีการประเมินผล | 1. ข้อมูลจากแบบประเมินการพัฒนาเมืองสมุนไพร 2. การอัพเดตข้อมูลขึ้นเว็บไซด์ healthkpi.moph.go.th 3. ข้อมูลจากการตรวจราชการและนิเทศงาน | ||||||||||||||
เอกสารสนับสนุน | 1. แผนแม่บทแห่งชาติ ว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2560-2564) 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองสมุนไพร | ||||||||||||||
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด | 1. นางมณฑกา ธีรชัยสกุล ผู้อำนวยการกองสมุนไพรเพื่อเศรษฐกิจ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-1495609 โทรศัพท์มือถือ : 090-9194391 โทรสาร : 02-1495609 E-mail : th.herbalcity@gmail.com กองสมุนไพรเพื่อเศรษฐกิจ 2. นายณัฐวุฒิ ปราบภัย เภสัชกรปฏิบัติการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-1495609 โทรศัพท์มือถือ : 099-4671110 โทรสาร : 02-1495609 E-mail : th.herbalcity@gmail.com กองสมุนไพรเพื่อเศรษฐกิจ 3. นางสาวอัปสร บุตรดา นักวิเคราะห์นโยบายและแผน โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-1495609 โทรศัพท์มือถือ : 080-1148545 โทรสาร : 02-1495609 E-mail : th.herbalcity@gmail.com กองสมุนไพรเพื่อเศรษฐกิจ | ||||||||||||||
หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง) | กลุ่มงานยุทธศาสตร์และแผนงาน กองวิชาการและแผนงาน กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก | ||||||||||||||
ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน | 1. นางสาวผสุชา จันทร์ประเสิรฐ แพทย์แผนไทยปฏิบัติการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-9659490 โทรศัพท์มือถือ : 064-3235939 โทรสาร : 02-9659490 E-mail : ppin1987@gmail.com กองวิชาการและแผนงาน กลุ่มงานยุทธศาสตร์และแผนงาน 2. นางกรุณา ทศพล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5917809 โทรศัพท์มือถือ : 089-7243816 โทรสาร : 02-591-0218 E-mail : karunathailand4.0@gmail.com กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร | ||||||||||||||
รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base | 0 | ||||||||||||||
Areabase Kpi Regioncode | 0 | ||||||||||||||
หมายเหตุ | |||||||||||||||
Last Update | 2021-03-24 14:22:39 | ||||||||||||||
Download |