ร้อยละของประชาชนเข้าถึงข้อมูลสุขภาพตนเองได้
ผลการดำเนินงาน >>ชื่อตัวชี้วัด | ร้อยละของประชาชนเข้าถึงข้อมูลสุขภาพตนเองได้ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
Child KPI | สร้าง KPI ย่อย | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ปีงบประมาณ | 2561 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ระดับตัวชี้วัด | ประเทศ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดที่ | 068.1 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Sort Order | 0 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คำนิยาม | Personal Health Records (PHRs) หมายถึง ข้อมูลสุขภาพของผู้ป่วยในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ที่ผู้ป่วยเข้าถึงได้ และผู้ป่วยสามารถควบคุมดูแล จัดการ และแลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้อื่นได้ ไม่ว่าจะมีแหล่งที่มาจากข้อมูลในระบบสารสนเทศ (EHRs) ของสถานพยาบาลโดยตรง ข้อมูลจากการบันทึกของผู้ป่วยเอง หรือจากแหล่งอื่นก็ตาม ทั้งนี้รวมถึงกรณีที่ผู้แทนโดยชอบธรรมเป็นผู้ใช้งานแทนผู้ป่วยด้วย “ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบ PHRs” หมายถึง ขั้นตอนของการพัฒนาระบบข้อมูล สุขภาพในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ของประชาชนหรือผู้ป่วย ที่ผ่านขบวนการจัดจ้างตามระเบียบพัสดุ สำเร็จตามข้อกำหนดคุณลักษณะเฉพาะ (TOR) และช่วงเวลาที่กำหนด พร้อมสำหรับการใช้งาน “ข้อมูลสุขภาพ” หมายถึง ชุดข้อมูลตามโครงสร้างแฟ้มมาตรฐานด้านสุขภาพ (43 แฟ้ม) ของ กระทรวงสาธารณสุข เช่น ข้อมูลบุคคล ข้อมูลสุขภาพตามกลุ่มวัย น้ำหนัก ส่วนสูง ค่า BMI ข้อมูลการ ได้รับวัคซีน ข้อมูลการฝากครรภ์ ข้อมูลการคัดกรอง ข้อมูลโภชนาการ เป็นต้น “การเข้าถึงข้อมูลสุขภาพตนเอง” หมายถึง ประชาชนมีสิทธิ์ในการขอเข้าดูข้อมูลประวัติการ เจ็บป่วยของตนเองในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านช่องทางหรือระบบที่รองรับ โดยทั้งนี้ต้องผ่าน กระบวนการตรวจสอบสิทธิ์และความมั่นคงปลอดภัยทางสารสนเทศอย่างเคร่งครัด และเป็นไปตาม มาตรฐานที่กำหนด “ประชาชนหรือผู้ป่วย” หมายถึง ผู้รับบริการสุขภาพในสถานบริการสาธารณสุข ที่จัดส่งข้อมูลตาม โครงสร้างมาตรฐานข้อมูลด้านสุขภาพ (43 แฟ้ม) ของกระทรวงสาธารณสุข | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยตัวชี้วัด | ร้อยละ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า A | คน | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า A | จำนวนประชาชนหรือผู้ป่วย ที่สามารถเข้าถึงข้อมูลสุขภาพตนเองได้ผ่านช่องทางตามมาตรฐานที่กำหนด (Mobile App) กระทรวงสาธารณสุขพัฒนา Application ให้ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า B | คน | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า B | จำนวนประชาชนหรือผู้ป่วย ในแต่ละจังหวัด ที่มีช่วงอายุระหว่าง 15-59 ปี ทั้งหมด (ที่เป็นคนไทย และ TypeArea=1,3 เท่านั้น) อ้างอิงฐานประชากรในระบบ HDC | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า C | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า C | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า D | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า D | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า E | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า E | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า F | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า F | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
สูตรคำนวนตัวชี้วัด | (A/B)x100 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Operator | >= | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เกณฑ์เป้าหมาย | ร้อยละ 1.5 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย | ประชาชนหรือผู้ป่วยที่มีช่วงอายุระหว่าง 15-59 ปี และเคยรับบริการจากโรงพยาบาล และสถานบริการสาธารณสุข ที่จัดส่งข้อมูลตามโครงสร้างมาตรฐานข้อมูลด้านสุขภาพ (43 แฟ้ม) ของกระทรวงสาธารณสุข | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ค่าเป้าหมาย | 1.50 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Max Value | 100.00 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
วิธีการจัดเก็บข้อมูล | จากระบบรายงานและเอกสารการส่งงาน ใช้ในการประเมินระดับความสำเร็จของการ พัฒนาระบบ PHRs 1.1 มีแผนงานและแนวทางการดำเนินงานตามโครงการ (20 %) 1.2 ศึกษา วิเคราะห์และออกแบบระบบ พร้อมกำหนด TOR (20 %) 1.3 ขบวนการจัดจ้าง และพัฒนาระบบตาม TOR (20 %) 1.4 ทดสอบการใช้งานในพื้นที่นำร่อง และปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ ออกเป็น Product เพื่อการใช้งาน (20 %) กระทรวงสาธารณสุขพัฒนา Application ให้ 1.5 ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ Application เพื่อติดตามประเมินผลการใช้งาน ผ่านระบบ LogFile และ Webservice (20 %) 1.5.1 การ Download Application ผ่าน App Store & Google Play 1.5.2 การลงทะเบียนใช้งานของประชาชนหรือผู้ป่วย กับ สถานบริการ 1.5.3 การเข้าใช้งานระบบ PHRs ของประชาชนหรือผู้ป่วย | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
แหล่งข้อมูล | 1. เอกสารการส่งมอบงานและการตรวจรับ ตามระเบียบพัสดุ 2. ระบบข้อมูลสุขภาพ Personal Health Records (PHRs) กระทรวงสาธารณสุขพัฒนา Application ให้ 3. ฐานข้อมูลกลางอื่น ๆ ของกระทรวงสาธารณสุขที่เกี่ยวข้อง | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง | - | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับเขต | - | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด | - | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดสำคัญ | - | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัด Area Base | - | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Tags | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ระยะเวลาการประเมินผล | ไตรมาส 2 และ 4 (เดือน มีนาคม และ สิงหาคม) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ข้อมูล Baseline |
| ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เกณฑ์การประเมินผล | ปี 2561 :
ปี 2562 :
ปี 2563 :
ปี 2564 :
| ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
วิธีการประเมินผล | ผลการประเมินวัดจากการเก็บข้อมูลตามวิธีการจัดเก็บ ข้อ 1.1-1.5 สำหรับขั้นตอน การดำเนินงานในส่วนของการจัดเตรียมระบบ ตั้งแต่ขั้นตอน การศึกษา วิเคราะห์ จัดทำแผนจัดจ้างกำหนดคุณลักษณะเฉพาะ (TOR) จนถึงขั้นตอนการพัฒนาระบบ ทดสอบ การ ปรับปรุงแก้ไข และส่งมอบงาน จนถึงขั้นตอนการขึ้นทะเบียน Product และเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ โดยกระทรวงสาธารณสุขพัฒนา Application ให้เป็น พื้นฐาน จากนั้น ประเมินจากการเข้าถึงระบบข้อมูลสุขภาพของตนเอง ผ่านช่องทางต่างๆ ที่กำหนด โดย กำหนดเป้าหมาย ปีงบประมาณ 2561 ดังนี้ 1.ร้อยละของประชาชนเข้าถึงข้อมูลสุขภาพตนเองได้ ตรวจสอบการเข้าใช้งานระบบ Personal Health Records (PHRs) ในส่วนนี้จะเป็นการประเมินการใช้งานระบบ Personal Health Records (PHRs) โดยกำหนดเริ่มที่ ไตรมาสที่ 2 เท่ากับ 0.5 ไตรมาสที่ 3 เท่ากับ 1.0 และไตรมาสที่ 4 ไตรมาสสุดท้าย เท่ากับ 1.5 โดยคิดจาก กลุ่มเป้าหมาย จำนวนประชาชนหรือผู้ป่วย ที่มีช่วงอายุระหว่าง 15-59 ปี ทั้งหมด(ที่เป็นคนไทย และ TypeArea=1,3 เท่านั้น) รายจังหวัด เช่น จังหวัด ก มี กลุ่มเป้าหมาย(ประชาชนหรือผู้ป่วย) เท่ากับ 150,000 คน มีจำนวนประชาชนหรือผู้ป่วย ที่สามารถเข้าถึงข้อมูลสุขภาพตนเองได้ผ่านช่องทางตามมาตรฐานที่กำหนด(Mobile App) กระทรวงสาธารณสุขพัฒนา Application ให้ และนับถึงไตรมาสที่ 2 เท่ากับ 1,200 คน คิดเป็นร้อยละ (1,200x100)/150,000 เท่ากับ 0.8 ก็ถือว่าผ่านเกณฑ์ โดยสุดท้ายสรุป เป็นภาพของกระทรวงสาธารณสุข ระดับประเทศอีกครั้ง 2.ร้อยละของประชาชนที่ลงทะเบียนและเข้าใช้งานระบบ PHRs ในส่วนนี้จะประเมินจากจำนวนหน่วยบริการที่มีการลงทะเบียน เพื่อให้บริการ ประชาชนหรือผู้ป่วยผ่าน Web Service โดยดูจากปริมาณการลงทะเบียนเพื่อขอใช้งาน ระบบ PHRs เป็นจำนวนคน เป็นตัวหาร และ นับการ Login เข้าใช้งานระบบ PHRs (มากกว่า 1 ครั้ง)ของประชาชนหรือผู้ป่วย เป็นตัวตั้ง เช่น หน่วยบริการแห่งหนึ่ง มีประชาชนหรือผู้ป่วย ลงทะเบียนเข้าใช้งานระบบ PHRs 450 คน(ตัวหาร) การสาธิตและ แนะนำการใช้งานครั้งแรกไม่นำมานับรวม หลังจากนั้นประชาชนหรือผู้ป่วย ที่ลงทะเบียนเข้าใช้งาน ระบบ PHRs มากกว่า 1 ครั้ง รวม 220 คน คิดเป็น ร้อยละเท่ากับ (220x100)/450 เท่ากับ ร้อยละ 48 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เอกสารสนับสนุน | 1.มาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างระบบงานด้านสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข 2.มาตรฐานข้อมูลสารสนเทศด้านสาธารณสุขต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.มาตรฐานความปลอดภัยสารสนเทศต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ISO27001 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด | 1.นางกนกวรรณ มาป้อง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901212 โทรศัพท์มือถือ : โทรสาร : 02-5901215 E-mail :ict-moph@health.moph.go.th ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง) | ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน | 1.นางกนกวรรณ มาป้อง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901212 โทรศัพท์มือถือ : โทรสาร : 02-5901215 E-mail :ict-moph@health.moph.go.th ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base | 0 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Areabase Kpi Regioncode | 0 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หมายเหตุ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Last Update | 2021-03-24 14:22:39 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
Download |