ร้อยละของประชาชนวัยทำงาน มีค่าดัชนีมวลกายปกติ

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของประชาชนวัยทำงาน มีค่าดัชนีมวลกายปกติ
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2560
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่010
Sort Order0
คำนิยาม

ประชานชนวัยทำงาน หมายถึง ประชาชนอายุ 18 ปี– 59 ปี 11 เดือน 29 วัน

ดัชนีมวลกายปกติ หมายถึง น้ำหนักเหมาะสมกับส่วนสูง โดยมีค่าดัชนีมวลกาย อยู่ในช่วง 18.5-22.9 กก./ตรม.

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aคน
นิยามของค่า Aจำนวนประชากรวัยทำงานอายุ 18 ปีขึ้นไป- 59 ปี มีดัชนีมวลกายปกติ
หน่วยของค่า Bคน
นิยามของค่า Bจำนวนประชากรวัยทำงานอายุ 18 ปีขึ้นไป- 59 ปี ที่ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงทั้งหมด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 54
ประชากรกลุ่มเป้าหมายประชานชนวัยทำงาน อายุ 18 ปี – 59 ปี 11 เดือน 29 วัน
ค่าเป้าหมาย54.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1.รพ.สต. และPCU ของโรงพยาบาลบันทึกในโปรแกรมหลักของสถานบริการ และส่งออกข้อมูลตามโครงสร้างมาตรฐาน 43 แฟ้ม โดยระบบ Health data center (HDC)

2.จากการสำรวจทุกๆ 3 ปี โดยการสุ่มชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงประชานชนวัยทำงาน ที่เป็นตัวแทนในระดับจังหวัดทุกจังหวัด (ทำร่วมกับการสำรวจการบริโภคอาหารที่เหมาะสม)

3.จากการสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย จากสำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย (สสท.)

แหล่งข้อมูล

1.สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่ง (สสจ./รพศ./รพช./รพสต. ศูนย์บริการสาธารณสุข กทม.)

2.ระบบคลังข้อมูล กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

3.ระบบข้อมูล BRFSS สำนักโรคไม่ติดต่อ

4.รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกายสำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย (สสท.)

5.จากการสำรวจโดยการสุ่มชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงประชานชนวัยทำงาน  ของสำนักโภชนาการ

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงใช่
ตัวชี้วัดระดับเขตไม่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดไม่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
Tags43 แฟ้ม
ระยะเวลาการประเมินผลการตรวจราชการแต่ละจังหวัดและนิเทศศูนย์อนามัย และเปรียบเทียบข้อมูลในระบบHDC กับค่าเป้าหมาย ไตรมาส 1, 2, 3 และ 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2557

2558

2559

ประชาชนวัยทำงานมีค่าดัชนีมวลกายปกติ

ร้อยละ

39.64

BMI ปกติ

36.43

ไม่มี

เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2560 – 2564 :

 รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ส่วนกลาง

  • ประสานความร่วมมือกับ กรมควบคุมโรค กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมการแพทย์ ในการส่งเสริมให้ประชาชนวัยทำงาน ผู้สูงอายุ สุขภาพดี โดยให้มีค่าดัชนีมวลกายให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
  • จัดทำและสนับสนุนคู่มือ/มาตรการดำเนินงานโภชนาการในกลุ่มวัยทำงานและผู้สูงอายุ
  • ประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่เขตสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และศูนย์อนามัย
  • จัดตั้งทีมนิเทศติดตามและประเมินผล
  • ร้อยละ 60 จังหวัดดำเนินงานตามแนวทาง/มาตรการ

 

  • ร้อยละ 80 จังหวัดดำเนินงานตามแนวทาง/มาตรการ

 

  • ร้อยละ 100 จังหวัดดำเนินงานตามแนวทาง/มาตรการ

 

วิธีการประเมินผล

1) การตรวจราชการแต่ละจังหวัดและนิเทศศูนย์อนามัย และเปรียบเทียบข้อมูลในระบบ HDC กับ ค่าเป้าหมาย

2) การสุ่มสำรวจ ทุก 3 ปี

เอกสารสนับสนุน

1. โรคอ้วนลงพุง

2. พิชิตอ้วน พิชิตพุง

3. ดูแลหุ่นสวย ด้วยตนเอง

4. ขยับกับกิน

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นางกุลพร  สุขุมาลตระกูล                  นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904307-8     โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 02-5904339                     E-mail : kunpunk11@gmail.com

2. นางวสุนธรี  เสรีสุชาติ                        นักโภชนาการชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904307-8     โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 02-5904339                     E-mail : wasuntharee.s@anamai.mail.go.th

3. นางสาวิภาศรี สุวรรณผล                     นักโภชนาการปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904307-8     โทรศัพท์มือถือ : 098-2639591

    โทรสาร : 02-5904339                     E-mail : wipasri.s@anamai.mail.go.th

สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

กองแผนงาน กรมอนามัย (ผ่านระบบ KISS)

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางสาววิภาศรี สุวรรณผล                นักโภชนาการปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904307-8   โทรศัพท์มือถือ : 098-2639591

    โทรสาร : 02-5904339                   E-mail : wipasri.s@anamai.mail.go.th

สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>