อัตราการคงอยู่ของบุคลากรด้านสุขภาพ (Retention Rate)

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete Log

ชื่อตัวชี้วัดอัตราการคงอยู่ของบุคลากรด้านสุขภาพ (Retention Rate)
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2561
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่057
Sort Order0
คำนิยาม

1. อัตราการคงอยู่ (Retention Rate) หมายถึง จำนวนบุคลากรที่ปฏิบัติงาน
ในหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นระยะเวลา 1 ปีขึ้นไป (นับตามปีงบประมาณ) โดยเริ่มนับตั้งแต่วันที่เริ่มปฏิบัติงาน ณ หน่วยงานเดิมในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

2. บุคลากรสาธารณสุข หมายถึง บุคลากรสาธารณสุขทั้งหมด (ทุกประเภทการจ้าง)

   - ข้าราชการ

   - พนักงานราชการ

   - ลูกจ้างประจำ

   - ลูกจ้างชั่วคราว (ยกเว้น ลูกจ้างรายคาบ /รายวัน/จ้างเหมาบริการ)

   - พนักงานกระทรวงสาธารณสุข

ในหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (กรม เขตสุขภาพ รพศ. รพท. และหน่วยงาน

ในความรับผิดชอบของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด) ทุกระดับ ทุกสายงาน

3. อัตราการคงอยู่ของบุคลากรสาธารณสุข (Retention rate) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 หมายถึง จำนวนบุคลากรสาธารณสุขทั้งหมด 5 ประเภทการจ้าง (ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราว พนักงานกระทรวงสาธารณสุข) ที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นระยะเวลา 1 ปีขึ้นไป (นับตามปีงบประมาณ) โดยเริ่มนับตั้งแต่วันแรกที่เริ่มปฏิบัติงาน ณ หน่วยงานเดิมในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จนถึงวันที่เก็บข้อมูล โดยมีสัดส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 เมื่อเทียบกับจำนวนบุคลากร 5 ประเภทการจ้างที่ปฏิบัติงานอยู่จริงทั้งหมด ณ ต้นปีงบประมาณ (1 ตุลาคม)

4. การลาออก หมายถึง บุคลากรสาธารณสุขที่ลาออกจากการปฏิบัติงานในหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จากระบบฐานข้อมูล HROPS

5. การถูกให้ออก หมายถึง บุคลากรสาธารณสุขที่ถูกให้ออกจากการปฏิบัติงานโดยมีความผิด

จากระบบฐานข้อมูล HROPS

6. การโอน หมายถึง การให้บุคลาการสาธารณสุขโอนไปสังกัดใหม่นอกสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จากระบบฐานข้อมูล HROPS

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aคน
นิยามของค่า Aจำนวนบุคลากรทั้งหมด (ทุกประเภทการจ้าง) ที่ปฏิบัติงานอยู่จริง ณ วันที่เก็บข้อมูล
หน่วยของค่า Bคน
นิยามของค่า Bจำนวนบุคลากรทั้งหมด (ทุกประเภทการจ้าง) ณ ต้นปีงบประมาณ (1 ตุลาคม)
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B) x 100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
ประชากรกลุ่มเป้าหมายทุกหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
ค่าเป้าหมาย85.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

รายงานผล

แหล่งข้อมูล

1. ฐานข้อมูลระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการบุคลากรสาธารณสุข (HROPS)  สป.สธ.

2. ฐานข้อมูลอัตรากำลังของกรม

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
TagsPA,สตป.
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2557

2558

2559

-

ร้อยละ

-

-

-

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2561:

        รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

มีการบริหารจัดการข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ

มีการกำหนดแผน/กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างและธำรงรักษาบุคลากรให้คงอยู่ในระบบ เช่น “HR Clinic”

1. ดำเนินการตามแผน

2. ติดตามผลการดำเนินงานตามแผน

อัตราการคงอยู่ของบุคลากรสาธารณสุข (Retention rate)

ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85

 

 

 

 

 

 

ปี 2562:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

มีการบริหารจัดการข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ

มีการกำหนดแผน/กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างและธำรงรักษาบุคลากรให้คงอยู่ในระบบ เช่น “HR Clinic”

1. ดำเนินการตามแผน

2. ติดตามผลการดำเนินงานตามแผน

อัตราการคงอยู่ของบุคลากรสาธารณสุข (Retention rate)

ไม่น้อยกว่าร้อยละ 88

 

 

 

 

 

 

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

มีการบริหารจัดการข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ

มีการกำหนดแผน/กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างและธำรงรักษาบุคลากรให้คงอยู่ในระบบ เช่น “HR Clinic”

1. ดำเนินการตามแผน

2. ติดตามผลการดำเนินงานตามแผน

อัตราการคงอยู่ของบุคลากรสาธารณสุข (Retention rate)

ไม่น้อยกว่าร้อยละ 91

 

 

 

 

 

 

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

มีการบริหารจัดการข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ

มีการกำหนดแผน/กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างและธำรงรักษาบุคลากรให้คงอยู่ในระบบ เช่น “HR Clinic”

1. ดำเนินการตามแผน

2. ติดตามผลการดำเนินงานตามแผน

อัตราการคงอยู่ของบุคลากรสาธารณสุข (Retention rate)

ไม่น้อยกว่าร้อยละ 94

 

วิธีการประเมินผล

วิเคราะห์ข้อมูลจากฐานข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพ

เอกสารสนับสนุน

-

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นายสรรเสริญ  นามพรหม                ผู้อำนวยการกองบริหารทรัพยากรบุคคล

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901410       โทรศัพท์มือถือ : 089-6133454

    โทรสาร : 02-5901421                 E-mail : sansernx@gmail.com

กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำจ้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. นายพรชัย ปอสูงเนิน                      นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901858       โทรศัพท์มือถือ : 062-9599862

    โทรสาร : 02-5901421                 E-mail : hrmoph@gmail.com

2. นางสาวณัฐธยาน์กร  เดชา                นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901341       โทรศัพท์มือถือ : 081-7322812

    โทรสาร : 02-5901421                 E-mail : pink1327@hotmail.com

กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางสาวเปรมฤทัย  เครือเรือน            นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901344       โทรศัพท์มือถือ : 085-3252098

    โทรสาร : 02-5901421                 E-mail : p.khruaruan@gmail.com

กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2. นางสาวสุดใจ  จันทร์เลื่อน                นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901344       โทรศัพท์มือถือ : 081-8897796

    โทรสาร : 02-5901421                 E-mail : sudjaich1@gmail.com

กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
ผลการดำเนินงาน >>